Page 322 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 322

พันซี
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ดอกรูประฆัง สีเหลือง เปลี่ยนเป็นสีชมพูอมแดงก่อนร่วง โคนด้านในมีสีน�้าตาลแดง
                                                                     กลีบรูปไข่กลับ ยำว 6-10 ซม. เส้ำเกสรสั้นกว่ำกลีบดอก ยำว 2-3.5 ซม. อับเรณู
                                                                     ติดตลอดควำมยำวเส้ำเกสร ก้ำนเกสรเพศเมียแยกเป็น 5 แฉก ผลรูปรีกว้ำงเกือบกลม
                                                                     ยำว 2-3 ซม. แตกเป็น 5 ซีก คล้ำยมี 10 ช่อง กลีบเลี้ยงยำวกว่ำผล มี 4-5 เมล็ด
                                                                     ในแต่ละซีก เมล็ดรูปคล้ายไต ยาวประมาณ 5 มม. มีขนยาวหนาแน่น
                                                                       พบที่จีนตอนใต้ พม่ำ ลำว เวียดนำม และชวำ ในไทยพบกระจำยห่ำง ๆ ทำง
                                                                     ภำคตะวันออกเฉียงเหนือที่หนองคำย บึงกำฬ นครพนม ภำคตะวันออกเฉียงใต้
                                                                     ที่ตรำด และภำคใต้ที่ระนอง สุรำษฎร์ธำนี ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น ส่วนมำก
                                                                     พบในระดับควำมสูงต�่ำ ๆ หรืออำจถึงควำมสูงประมำณ 1000 เมตร เป็นไม้ประดับ
                                                                     อนึ่ง ใน Flora of China ระบุว่ำมีเส้นโคนใบ 3-5 เส้น ซึ่งตัวอย่ำงของไทยไม่พบ
                                                                     ลักษณะดังกล่ำวแต่อย่ำงใด
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Phuphathanaphong, L., P. Siriruksa and G. Nuvongsri. (1989). The genus
                                                                          Hibiscus in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 18: 56-61.
                                                                       Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
                  พันจ�า: V. odorata sensu lato กิ่งมีขนกระจุกรูปดำวสั้นนุ่มสีน�้ำตำลแดงหรือเกือบเกลี้ยง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง   12: 288.
                (ภำพซ้ำยบน: อุบลรำชธำนี, ภำพขวำบน: บึงกำฬ, ภำพซ้ำยล่ำง: cultivated, ภำพขวำล่ำง: ตรัง; - RP)
                พันซี
                Sonerila erecta Jack
                วงศ์ Melastomataceae
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ประมำณ 50 ซม. มีขนต่อมตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง และฐานดอก
                แตกกิ่งจ�านวนมาก ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 0.5-3 ซม. ปลำยแหลม
                หรือกลม โคนแหลมหรือสอบ ขอบจักฟันเลื่อยถี่ มีขนครุยห่ำง ๆ เส้นโคนใบข้างละ
                1-2 เส้น ก้ำนใบยำว 2-4 มม. ช่อดอกยำวได้ถึง 12 ซม. มีขนกระจำย ดอกเรียง
                สองแถว แถวละ 3-10 ดอก ก้ำนดอกยำว 1-4 มม. ฐานดอกรูปทรงกระบอกแคบ
                ยำว 4-8 มม. ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบรูปรีหรือรูปไข่ ยำว 4-8 มม. ก้ำนกลีบยำว
                ประมำณ 2 มม. ปลำยเป็นติ่งสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 3 อัน อับเรณูสีเหลือง ยำว 2-4 มม.
                ผลรูปทรงกระบอก ยำว 0.6-1.2 ซม. มีริ้ว เกลี้ยงหรือมีขนยำวกระจำย (ดูข้อมูล
                เพิ่มเติมที่ สำวสนม, สกุล)
                   พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่ำ และคำบสมุทรมลำยู ในไทยพบกระจำยทุกภำค
                ขึ้นตำมร่มเงำหรือที่โล่งที่ชื้นแฉะ ในป่ำดิบแล้ง ป่ำเบญจพรรณ และป่ำดิบชื้น   พันตะวัน: ใบรูปขอบขนำน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ 7-9 อัน ริ้วประดับมี 7-9 อัน ดอกรูประฆังสีเหลือง โคนด้ำนใน
                ควำมสูง 100-1300 เมตร                                มีสีน�้ำตำลแดง กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ติดทน ยำวกว่ำผล (ภำพ: ภูลังกำ นครพนม - RP)

                  เอกสารอ้างอิง                                      พันรู
                   Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
                      In Flora of Thailand Vol. 7(3): 485-486.       Pertusadina malaccensis Ridsdale
                                                                     วงศ์ Rubiaceae
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ล�าต้นกลวงหรือแยกออกจากกันหลายส่วน หูใบรูป
                                                                     สามเหลี่ยมแคบ ยำว 0.5-1 ซม. ใบเรียงตรงข้ำม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยำว 7-15 ซม.
                                                                     ปลำยแหลมยำว มีตุ่มใบเป็นขน ก้ำนใบยำว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น
                                                                     ออกตามซอกใบ ออกเดี่ยว ๆ หรือมี 3 ช่อ เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1.2-1.5 ซม. ก้ำนช่อ
                                                                     ยำว 3-8 มม. ดอกขนำดเล็กจ�ำนวนมำก ใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย ฐำนดอกยำว
                                                                     ประมำณ 0.5 มม. มีขนหนำแน่น กลีบเลี้ยงยำวเท่ำ ๆ ฐำนดอก โคนเชื่อมติดกัน
                                                                     ด้ำนในมีขนหนำแน่น มี 4 กลีบ รูปสำมเหลี่ยมขนำดเล็ก ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม
                                                                     ด้านนอกมีขนคล้ายแป้ง หลอดกลีบยำวประมำณ 0.4 มม. มี 4 กลีบ ขนำดเล็ก
                  พันซี: ไม้ล้มลุก แตกกิ่งจ�ำนวนมำก ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว ดอกเรียงสองแถว กลีบดอก 3 กลีบ มีก้ำนกลีบ ปลำยกลีบ  เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดด้านบนของหลอดกลีบดอก ก้ำนชูอับเรณูสั้น อับเรณูติดที่ฐำน
                แหลมเป็นติ่งสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 3 อัน โคนแฉกลึก 2 พู ผลรูปทรงกระบอก มีริ้ว (ภำพ: เขำพระวิหำร ศรีสะเกษ - RP)  หันเข้ำ รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยื่นพ้นปากกลีบดอก ผลย่อยยำว 2-4 มม.
                                                                     เปลือกแข็งแตกตำมยำว เมล็ดมีปีกขนำดเล็ก
                พันตะวัน
                                                                       พบที่คำบสมุทรมลำยู และภำคใต้ของไทย ตั้งแต่สุรำษฎร์ธำนีลงไป ขึ้นตำม
                Hibiscus grewiifolius Hassk.                         ป่ำดิบชื้น ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ
                วงศ์ Malvaceae

                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนรูปดำวประปรำยตำมกิ่งอ่อน ก้ำนใบ ก้ำนดอก ริ้วประดับ   สกุล Pertusadina Ridsdale อยู่ภายใต้เผ่า Naucleae แยกมาจากสกุล Adina มี
                และกลีบเลี้ยงด้ำนนอก หูใบรูปเส้นด้ำยขนำดเล็ก ร่วงเร็ว ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก   4 ชนิด พบที่ไห่หนาน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และหมู่เกาะโมลุกกะ
                หรือแกมรูปไข่ ยำว 6-20 ซม. ปลายแหลมยาว หรือมน โคนมน ขอบเรียบ แผ่น  ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “pertusus” ทำาให้เป็นโพรงหรือรู
                ใบค่อนข้ำงหนำ เกลี้ยงหรือมีขนรูปดำวประปรำย ก้ำนใบยำว 0.5-1.5 ซม. ดอกออก  และชื่อสกุล Adina หมายถึงพืชคล้ายสกุล Adina ที่ลำาต้นเป็นโพรง
                เดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว 1-3 ซม. หนา ริ้วประดับมี 7-9 อัน รูปลิ่มแคบ  เอกสารอ้างอิง
                หรือรูปใบหอก ยำว 0.7-1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย หลอดกลีบยำว 1-1.5 ซม. มี 5 กลีบ   Ridsdale, C.E. (1978). A revision of the tribe Naucleae s.s., Blumea 24(2):
                รูปสำมเหลี่ยมแกมรูปขอบขนำน ยำว 1.5-2 ซม. ปลำยเรียวแหลม ด้ำนในมีขน   353-356.


                302






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   302                                                                 3/1/16   6:05 PM
   317   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327