Page 312 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 312

พยับเมฆ

                  พยับเมฆ            สารานุกรมพืชในประเทศไทย            สกุล Fittonia Coem. มี 2 ชนิด พบในอเมริกาใต้ อีกชนิดคือ F. gigantea
                  Orthosiphon aristatus (Blume) Miq.                    Linden มีถิ่นกำาเนิดในเอกวาดอร์ ใบและช่อดอกขนาดใหญ่กว่า ชื่อสกุลตั้งตาม
                                                                        สองพี่น้อง Elizabeth Fitton และ Sarah Mary Fitton เพื่อนของ Robert Brown
                  วงศ์ Lamiaceae                                        นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ
                   ชื่อพ้อง Ocimum aristatum Blume
                    ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. รากอวบหนา ล�าต้นเป็นสี่เหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม   เอกสารอ้างอิง
                                                                        Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                  รูปไข่ แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 12 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว   Press, Honolulu, Hawai`i.
                  โคนรูปลิ่ม ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกออกที่
                  ปลายกิ่ง ช่อย่อยแบบช่อกระจุกไร้ก้านเรียงเป็นวงรอบแกนช่อ แต่ละใบประดับ
                  มี 2-3 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. ติดทน ก้านดอกยาว 3-5 มม.
                  ขยายในผลเล็กน้อย มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงรูปปากเปิด ยาว 3-8 มม. ขยายในผล
                  มีขนสั้นนุ่ม กลีบบนกลม สั้นกว่ากลีบล่าง กลีบล่างแยก 4 แฉกตื้น ๆ ปลายแหลมยาว
                  ดอกสีม่วงอ่อน รูปปากเปิด ยาว 1.2-3.5 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 1-2 ซม.
                  กลีบรูปขอบขนาน กลีบบน 3 กลีบ กลีบกลางเว้าตื้น กลีบล่าง 2 กลีบ เกสรเพศผู้
                  สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก จานฐานดอกจัก 4 พู เกสรเพศเมีย
                  ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลย่อยเปลือกแข็ง รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2 มม.
                  ผิวเป็นร่างแห
                                                                        พรมแดงและพรมออสเตรเลีย: ใบเรียงตรงข้าม เส้นลายร่างแหและเส้นกลางใบมีหลากสี ช่อดอกแบบช่อเชิงลด
                    พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ แยก  มี 4 ด้าน ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อม (ภาพ: cultivated - RP)
                  เป็น var. velteri Suddee & A. J. Paton พบที่เวียดนาม ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน   พรวด
                  ใบมีสรรพคุณขับปัสสาวะ แก้โรคไต ปวดตามข้อ
                                                                      Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk.
                    สกุล Orthosiphon Benth. อยู่ภายใต้เผ่า Ocimeae มีประมาณ 45 ชนิด พบใน  วงศ์ Myrtaceae
                    แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 7 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา  ชื่อพ้อง Myrtus tomentosa Aiton
                    กรีก “orthos” ตั้งตรง และ “sifon” หลอดกลีบดอก ตามลักษณะหลอดกลีบดอก
                                                                        ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. เปลือกลอกเป็นแผ่นบาง ๆ มีขนสั้นหนานุ่มสีเทาตามกิ่ง
                   เอกสารอ้างอิง                                      แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก
                    Suddee, S., A.J, Paton and J. Parnell. (2005). Taxonomic revision of the tribe   และผล ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-10 ซม. แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบ
                       Ocimeae Dumort. (Lamiaceae) in continental South East Asia III. Ociminae.   ข้างละ 1 เส้น ออกจากโคน เรียงโค้งจรดกันเป็นเส้นขอบใน ก้านใบยาวประมาณ
                       Kew Bulletin 60: 3-75.
                                                                      5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อนออกตามซอกใบ ส่วนมากมีดอกเดียว ก้านช่อยาว
                                                                      1-2 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึง 1.5 ซม. ฐานดอกรูปถ้วย ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                      4-5 กลีบ ยาว 5-6 มม. ปลายมน ติดทน ดอกสีชมพูอมขาว มี 4-5 กลีบ รูปไข่กว้าง
                                                                      ยาว 1.5-2 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูสีแดง ยาว 0.7-1 ซม. ปลาย
                                                                      อับเรณูมีต่อมขนาดเล็ก รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ซม. ผลสด
                                                                      มีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ขนสั้นหนานุ่มสีเทา สุกสีด�าอมม่วง
                                                                      เมล็ดสีน�้าตาล รูปคล้ายไต ยาวประมาณ 3 มม. มีปุ่มกระจาย
                                                                        พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะ
                                                                      โมลุกกะ และซูลาเวซี ในไทยพบทางภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต้
                                                                      ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าชายหาด ชายป่าพรุ และป่าดิบเขา
                                                                      ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร รากมีสรรพคุณแก้ปวดท้อง ท้องเสีย และภาวะ
                                                                      ตกเลือดหลังคลอด

                                                                        สกุล Rhodomyrtus  (DC.) Rchb. มีประมาณ 18 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน
                   พยับเมฆ: ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ช่อย่อยแบบช่อกระจุกไร้ก้านเรียงรอบแกนช่อ ดอกรูปปากเปิด เกสรเพศผู้และ
                  เกสรเพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)  และออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว แยกเป็น var. parviflora (Alston) A. J.
                                                                        Scott พบที่ศรีลังกา และอินเดีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “rhodo” แดง และ
                  พรมแดง                                                “myrtos” พืชวงศ์ Myrtaceae ตามลักษณะดอกที่ส่วนมากมีสีแดง
                  Fittonia albivenis (Lindl. ex Veitch) Brummitt       เอกสารอ้างอิง
                  วงศ์ Acanthaceae                                      Chen, J. and L.A. Craven. (2007). Myrtaceae. In Flora of China Vol. 13: 330-331.
                   ชื่อพ้อง Adelaster albivenis Lindl. ex Veitch, Fittonia verschaffeltii (Lem.)   Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
                     Van Houtte                                            7(4): 809-811.
                    ไม้ล้มลุก ทอดเลื้อย มีรากตามข้อ ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-12 ซม.
                  ปลายแหลม มนหรือกลม โคนรูปหัวใจ เส้นร่างแหและเส้นกลางใบมีลายขาวหรือแดง
                  ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ตั้งขึ้น ดอกเรียง 4 ด้าน ยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับเรียง
                  ซ้อนเหลื่อม รูปลิ่มกว้างหรือเกือบกลม 0.5-1.2 ซม. ขอบมีขนครุย ดอกไร้ก้าน
                  กลีบเลี้ยง 5 กลีบขนาดเล็ก ขอบมีขนครุย ดอกสีครีมอมเหลือง กลีบรูปปากเปิด
                  หลอดกลีบยาว 1-1.2 ซม. กลีบบน 2 กลีบ เรียวแคบ โค้งเข้า กลีบล่าง 3 กลีบ โค้งออก
                  เกสรเพศผู้ 2 อัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลแห้งแตกรูปรี ยาวประมาณ
                  1 ซม. มี 2 เมล็ดรูปจาน
                    มีถิ่นก�าเนิดที่อเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับทั่วไป มีหลากสายพันธุ์ กลุ่มที่มีลายเส้น  พรวด: ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลมีขนสั้นหนานุ่มสีเทา กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพดอก:
                  ร่างแหสีขาว เรียกว่า พรมออสเตรเลีย                  สุราษฎร์ธานี, ภาพผล: ทุ่งทะเล กระบี่; - RP)

                  292






         58-02-089_213-292_Ency_new5-3 i_Coated.indd   292                                                                 3/5/16   4:56 PM
   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316   317