Page 307 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 307

มีติ่งแหลม โคนรูปลิ่ม มน หรือกลม แผ่นใบมีขนกระจายด้านล่าง กลีบเลี้ยงมีขน  ผักหวานป่า  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  โผงเผง
                    ด้านนอก สีเขียวหรือน�้าตาลแดง ดอกเพศผู้เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม.   Melientha suavis Pierre
                    ก้านดอกยาว 3-4 มม. ดอกเพศเมียเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านดอกยาว
                    ประมาณ 3 มม. ขยายในผลได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบยาวประมาณ 2.5 มม.   วงศ์ Opiliaceae
                    ขยายในผลได้ถึง 6 มม. กลีบใหญ่ 3 กลีบ ยาว 3-4.5 มม. ขยายในผลได้เกือบ   ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปรี รูปไข่
                    1 ซม. ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 มม. บานออกตามแนวระนาบ ม้วนงอ   หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-16 ซม. ก้านใบยาว 1-2 มม. ช่อดอกคล้ายช่อแยกแขนง
                    ผลรูปไข่ ยาว 6-8 มม. เมล็ดยาวประมาณ 5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ครามน�้า, สกุล)  ออกเป็นกลุ่มตามล�าต้น กิ่ง หรือซอกใบ แกนช่อยาวได้ถึง 15 ซม. ขยายในผล
                       พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม  ใบประดับรูปไข่ขนาดเล็ก ดอกเพศผู้ไร้ก้าน ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 3-5 ดอก
                    ที่โล่งในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร  ช่วงปลายกิ่ง กลีบรวมสีเขียว 4-5 กลีบ แยกกัน รูปขอบขนาน ยาวประมาณ
                                                                        1.5 มม. เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ติดที่โคนกลีบ ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูสีเหลือง
                    ผักหวานบ้าน                                         รูปไข่ ยาว 1-1.5 มม. จานฐานดอกจักเป็นพู ขนาดเท่า ๆ รังไข่ที่เป็นหมัน
                                                                        ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ กลีบรวมยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้
                    Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr.     ที่เป็นหมันขนาดเล็กติดระหว่างพูจานฐานดอก เกสรเพศเมียไร้ก้าน ผลผนังชั้นใน
                      ชื่อพ้อง Clutia androgyna L., Sauropus androgynus (L.) Merr.  แข็งมีเมล็ดเดียว รูปรี ยาว 2.3-3 ซม. สุกสีเหลือง เนื้อด้านในสด ก้านผลยาว 3-5 มม.
                       ไม้พุ่มสูง 1-4 ม. หูใบยาว 2-3 มม. ใบรูปไข่ ยาว 2-9 ซม. ปลายแหลมหรือมน   พบที่ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค โดยเฉพาะ
                    โคนกลมหรือตัด แผ่นใบด้านล่างสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 2-3 มม. ดอกสีเขียว  ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือ
                    อมเหลืองหรือแดง กลีบหนา ดอกเพศผู้เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.8 ซม. ก้านดอก  ป่าชายหาด ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร ใบอ่อนและดอกใช้ปรุงอาหาร ใบอ่อน
                    ยาว 0.5-1.3 ซม. ดอกเพศเมียเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ   คล้ายผักหวานเมา Urobotrya siamensis Hiepko ที่มีพิษอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
                    3 มม. ขยายในผลได้ถึง 1.4 ซม. กลีบเลี้ยงกลีบเล็กยาว 2-4 มม. กลีบใหญ่ยาว
                    2.5-5.5 ซม. เรียวแคบกว่าเล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.2 มม. บานออก  สกุล Melientha Pierre มีเพียงชนิดเดียว แยกเป็น subsp. macrocarpa Hiepko
                    ตามแนวระนาบ ม้วนงอ ผลรูปรีกว้างเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. เกลี้ยง   พบเฉพาะที่บอร์เนียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “meli” น้ำาผึ้ง และ “anthos”
                    สีขาว เมล็ดยาว 7-8 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ครามน�้า, สกุล)  ดอก เนื่องจากดอกมีต่อมน้ำาต้อย
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี   เอกสารอ้างอิง
                    ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบและดอก  Hiepko, P. (1987). Opiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 95-96.
                    บ�ารุงสุขภาพ แก้ไอ รากแก้ปัสสาวะอักเสบ ลดไข้ ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ
                    และความดันโลหิตสูง

                      เอกสารอ้างอิง
                       van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol.
                          8(2): 527-529, 537-539.












                                                                          ผักหวานป่า: ช่อผลออกตามล�าต้น สุกสีเหลือง ก้านสั้น หนา (ภาพ: บางกะม่า ราชบุรี - PT)
                                                                        โผงเผง
                                                                        Senna hirsuta (L.) H. S. Irwin & Barneby
                                                                        วงศ์ Fabaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Cassia hirsuta L.
                      ผักหวานนก: มีขนหยาบหนาแน่นทั่วไป กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ในดอกเพศเมียขนาดไม่เท่ากัน ขยายในผล ยอดเกสร 3 อัน
                    แยก 2 แฉก บานออกตามแนวระนาบ (ภาพ: มุกดาหาร - PK)       ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2.5 ม. มีขนหยาบตามล�าต้น หูใบ ก้านใบ แผ่นใบ
                                                                        ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล ส่วนต่าง ๆ มีกลิ่นเหม็น หูใบรูปแถบ ยาว
                                                                        0.5-1.5 ซม. ใบย่อยมี 4-5 คู่ แกนกลางใบประกอบยาว 7-10 ซม. ก้านใบยาว
                                                                        5-6 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-9 ซม. ปลายแหลม โคนกลม
                                                                        ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะออกสั้น ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ใบประดับยาว
                                                                        4-5 มม. ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรีกว้าง คู่นอกยาว 5-6 มม. 3 กลีบในยาว
                                                                        7-9 มม. ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่กลับ ปลายแหลม ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 1.5-2.8 ซม.
                                                                        มีก้านกลีบสั้น ๆ อับเรณูมีช่องเปิดที่ปลาย เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน ก้านชูอับเรณู
                                                                        ยาว 5-7 มม. อับเรณูยาว 7-8 มม. อันสั้น 4 อัน ลดรูป 4 อัน รังไข่มีขนคล้าย
                                                                        ขนแกะหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมียมีขนครุย ฝักโค้งเป็นเหลี่ยม ยาว 6-13 ซม.
                                                                        มีขนหยาบ เมล็ดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้เหล็ก, สกุล)
                                                                           มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชในเขตร้อนชื้น ใบมีสรรพคุณกดประสาท
                                                                        ระงับปวด ใช้รักษาโรคผิวหนัง
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                      ผักหวานบ้าน: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ดอกสีเขียวอมเหลืองหรือแดง กลีบเลี้ยง 6 กลีบ หนา ติดทน ก้านดอกใน  Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae
                    ดอกเพศเมียขยายยาวในผล ผลแก่สีขาว (ภาพ: cultivated - RP)   (Cassia hirsuta). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 113.

                                                                                                                    287






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   287                                                                 3/1/16   5:58 PM
   302   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312