Page 305 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 305
ผักหนอก สารานุกรมพืชในประเทศไทย ผักหนอกใบเล็ก
Hydrocotyle siamica Craib
ไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดนอน เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่มตามล�าต้น แผ่นใบ และก้านใบ
ใบรูปสามเหลี่ยมกว้าง ส่วนมากด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว กว้าง 5-11 ซม. ขอบ
จักเป็นเหลี่ยม 5-7 แฉก โคนรูปหัวใจลึก ขอบจักมนหรือจักฟันเลื่อย เส้นโคนใบ
7-9 เส้น ก้านใบยาว 5-20 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-17 ซม. ดอกจ�านวนมาก ก้านดอก
ผักเสี้ยน: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ก้านชูเกสรร่วมยาว ใบประดับมี 3 ใบย่อย ผลเรียวยาว (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP) ยาว 5-8 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 มม. ผลกลมแป้น กว้างประมาณ
2.5 มม. ยาวประมาณ 1.5 มม. มีสันนูนและขนสั้นแข็ง
พบในพม่า และทางภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่ เชียงราย ขึ้นตามป่าดิบเขา
ใกล้ล�าธาร ความสูง 1000-2000 เมตร คล้ายกับ H. hookerii (C. B. Clarke)
Craib ซึ่งผลไม่มีขนแข็งสั้น
ผักหนอกเขา
Hydrocotyle javanica J. P. Ponten ex Thunb.
ชื่อพ้อง Hydrocotyle nepalensis Hook., H. polycephala Wight & Arn.
ผักเสี้ยนขน: ดอกสีม่วง กลีบคู่บนมีสีขาวที่โคน เกสรเพศผู้ 6 อัน (ภาพซ้าย: กรุงเทพฯ - RP); ผักเสี้ยนป่า: ใบช่วงโคน ไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดนอน เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปไข่กว้าง ส่วนมากด้านกว้าง
มีใบย่อย 5 หรือ 7 ใบ ดอกสีชมพู (ภาพขวา: สระบุรี - SSu) ยาวกว่าด้านยาว กว้าง 3-9 ซม. ขอบจักมน 5-7 จัก หรือเป็นเหลี่ยมเล็กน้อย
โคนรูปหัวใจตื้น ๆ ส่วนมากมีขนสั้นนุ่มตามเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นโคนใบ
7-9 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 17 ซม. มีขนยาว ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลายช่อ
ส่วนมากก้านช่อยาวไม่เกิน 2 ซม. มักสั้นกว่าก้านใบ ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกสั้นมาก
หรือยาวได้ถึง 2 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน มักมีแต้มสีม่วงแดง ยาวประมาณ 1 มม.
ผลกลมแป้น กว้าง 1.5-1.8 มม. ยาว 1-1.3 มม. เกลี้ยง
พบในเอเชียเขตร้อน จีน ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ขึ้นตามที่ชื้นแฉะหรือชายป่า
ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ใบหรือ
ทั้งต้นใช้เบื่อปลาหรือเป็นยาฆ่าแมลง
ผักหนอกใบเล็ก
Hydrocotyle pseudoconferta Masam.
ไม้ล้มลุก เกาะเลื้อย ยาวได้ถึง 30 ซม. แตกกิ่งจ�านวนมาก แผ่นใบรูปกลม
ผักเสี้ยนผี: ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ส่วนต่างๆ มีต่อมขนเหนียว ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย (ภาพดอก: บางสะพาน จักตื้น ๆ 5-7 แฉก ด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว ยาว 1-2.5 ซม. พูจักมน โคนแฉก
ประจวบคีรีขันธ์; ภาพผล: ถ�้ามะกัก สระบุรี - RP) ลึกรูปหัวใจ แผ่นใบด้านล่างมีขนละเอียด ก้านใบยาว 2-10 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ
ตามข้อ ไร้ก้าน ช่อที่ปลายกิ่งส่วนมากออกเป็นคู่หรือช่อแยกแขนง ดอกไร้ก้าน
หรือมีก้านสั้นมาก กลีบดอกมีต่อมใสสีอมเหลือง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
0.5 มม. ผลกลมแป้น ยาว 1-1.2 มม. กว้าง 1.5-2 มม. ส่วนมากมีลายสีม่วงแต้ม
หรือมีขนสีขาว
พบที่พม่า จีนตอนใต้ และไต้หวัน ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ขึ้นตาม
ที่โล่งชายป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 1200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Hedge, I.C. and J.M. Lamond. (1992). Umbelliferae. In Flora of Thailand Vol.
5(4): 443-447.
ผักเสี้ยนฝรั่ง: ช่อดอกออกที่ยอด ดอกสีชมพู หรือขาวล้วน ก้านกลีบดอกและก้านชูอับเรณูยาว (ภาพ: cultivated;
ภาพซ้าย - PK, ภาพขวา - PT) Menglan, S., M.F. Watson and J.F.M. Cannon. (2005). Apiaceae. In Flora of
China Vol. 14: 14-15.
ผักหนอก, สกุล
Hydrocotyle L.
วงศ์ Apiaceae
ไม้ล้มลุก มีรากตามข้อ หูใบบาง ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ส่วนมากเป็น
ช่อเดี่ยว ๆ ออกตรงข้ามใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดแนบติดรังไข่ ปลายแยก
เป็นแฉกขนาดเล็กหรือไม่มี กลีบดอก 5 กลีบ สีเขียวอ่อนหรือสีครีม เกสรเพศผู้ 5 อัน
รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 คาร์เพล แต่ละคาร์เพลมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน
ติดทน ผลแห้งแยกเป็น 2 ซีก แต่ละซีกมี 5 สัน เปลือกแข็ง
สกุล Hydrocotyle มีกว่า 100 ชนิด พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยเคยมี
รายงาน 4 ชนิด และพบเพิ่มอีกชนิด คือ H. pseudoconferta Masam. ที่กระจาย
มาจากจีนตอนใต้ ส่วน H. chiangdaoensis Murata เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบ
ที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และยังมีแว่นแก้ว H. umbellata L. ที่พบเป็นไม้
ประดับหรือขึ้นเป็นวัชพืช ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “hydor” น้ำา และ “kotyle” ผักหนอก: ขอบจักเป็นเหลี่ยม 5-7 แฉก โคนรูปหัวใจลึก ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาว ผลมี 2 ซีก มีขนสั้นแข็ง
ถ้วยขนาดเล็ก ตามลักษณะถิ่นที่อยู่และรูปร่างของใบแบบก้นปิด ปกคลุม (ภาพ: แม่ออน เชียงใหม่ - RP)
285
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 285 3/1/16 5:57 PM