Page 306 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 306
ผักหนาม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ผักหวานดง, สกุล
Phyllanthus L.
วงศ์ Phyllanthaceae
ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น ส่วนมากแยกเพศร่วมต้น หูใบขนาดเล็ก ใบที่ยอด
คล้ายเกล็ด ใบตามกิ่งเรียงคล้ายใบประกอบ เรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว
ช่อดอกออกตามซอกใบหรือข้อที่ไม่มีใบ ดอกเพศผู้ส่วนมากอยู่ด้านล่างเป็นกระจุก
ผักหนอกเขา: ใบด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว ผลเกลี้ยง (ภาพซ้าย: ขุนพะวอ ตาก, ภาพขวา: เชียงใหม่; - RP)
ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ อยู่ช่วงปลายช่อ กลีบเลี้ยง 2-6 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้มี 2-6 อัน ในดอกเพศผู้จานฐานดอกเป็นต่อม 3-6 อัน
ดอกเพศเมียจานฐานดอกแยกหรือเชื่อมติดกัน รังไข่ส่วนมากมี 3 ช่อง แต่ละช่อง
มีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียส่วนมากมี 3 อัน จัก 2 พู หรือแยก 2 แฉก ไม่มี
เกสรเพศเมียที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ผลส่วนมากแบบแห้งแตกเป็น 3 ส่วน ส่วนละ
2 ซีก พบน้อยที่เป็นผลสด คอลิวเมลัมติดทน มี 2 เมล็ดในแต่ละส่วน
สกุล Phyllanthus เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันแยกออกมาเป็น
ผักหนอกใบเล็ก: ขอบใบจักเป็นพูตื้น ๆ ช่อดอกออกตามข้อ ไร้ก้าน (ภาพซ้าย: เชียงใหม่ - RP; ภาพขวา: นครพนม - PK) วงศ์ Phyllanthaceae ร่วมกับอีกหลายสกุล เช่น Actephila, Breynia, Bridelia,
Cleistanthus และ Glochidion เป็นต้น มีประมาณ 700 ชนิด ส่วนมากพบใน
เขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมี 36 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “phyllon”
ใบ และ “anthos” ดอก ตามลักษณะดอกที่ออกตามกิ่งที่คล้ายใบในบางชนิด
ผักหวานดง
Phyllanthus elegans Wall. ex Müll. Arg.
ไม้พุ่ม สูงได้ประมาณ 3 ม. หูใบรูปลิ่มแคบ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่
แว่นแก้ว: ใบรูปก้นปิด ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม แยกแขนง (ภาพ: cultivated - RP)
หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6-14 ซม. โคนมน เบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบ
ผักหนาม ยาว 2-4 มม. ดอกเพศผู้ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่
Lasia spinosa (L.) Thwaites ยาว 2-2.5 มม. ขอบจักชายครุย จานฐานดอกเป็นต่อม 4 ต่อม เกสรเพศผู้ 4 อัน
วงศ์ Araceae ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-4.5 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ
รูปไข่ ยาว 3-3.5 มม. ขอบจักชายครุยเล็กน้อย จานฐานดอกรูปเบาะ รังไข่เกลี้ยง
ชื่อพ้อง Dracontium spinosum L. ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน สั้นมาก ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. ผลโป่งพอง กลม
ไม้พุ่มแตกกอ มีไหล ล�าต้นสั้น หนา มีหนามแหลมกระจายตามล�าต้น ใบ และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. มี 6 ริ้ว ก้านผลยาวประมาณ 3 ซม. เมล็ดรูปสามเหลี่ยม
ก้านช่อดอก ใบรูปเงี่ยงใบหอก ยาว 18-75 ซม. แฉกลึกรูปขนนก ก้านใบยาวได้ถึง ยาว 6-7 มม.
1 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ ออกเดี่ยว ๆ ก้านช่อยาวได้ถึง 45 ซม. กาบสี พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม
น�้าตาลอมม่วงหรือเหลือง รูปแถบบิดเวียน ยาว 25-55 ซม. โคนหุ้มช่อดอก
ช่อดอกสั้นรูปทรงกระบอก ปลายมน ยาว 4-5 ซม. ขยายในผลได้ถึง 7 ซม. ไร้ก้าน ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
ดอกสมบูรณ์เพศขนาดเล็ก กลีบรวมส่วนมากมี 4 กลีบ เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบ เอกสารอ้างอิง
แกนกลางอับเรณูเป็นรยางค์ รังไข่มีช่องเดียว ออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand
ยอดเกสรรูปจานครึ่งวงกลม ผลสดเป็นเหลี่ยม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. Vol. 8(2): 473-507.
ปลายมีตุ่มเป็นหนาม มีเมล็ดเดียว
พบในเอเชียเขตร้อน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
ยอดอ่อนต้มกินเป็นผัก เหง้ามีสรรพคุณรักษาวัณโรคต่อมน�้าเหลือง ไขข้อ ปวดท้อง
และแมลงสัตว์กัดต่อย
สกุล Lasia Lour. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Lasioideae มี 2 ชนิด อีกชนิดคือ L. concinna
Alderw. พบที่อินโดนีเซีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “lasios” ขรุขระ ตาม
ลักษณะก้านใบ
เอกสารอ้างอิง
Boyce, P.C. (2012). Araceae (Lasia). In Flora of Thailand Vol. 11(2): 249-250.
Gupta, A.K. (2013). Lasia spinosa. The IUCN Red List of Threatened Species
2013: e.T168997A6560395. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.UK.2011-1.
RLTS.T168997A6560395.en
ผักหวานดง: ช่อดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขอบจักชายครุย ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ
อยู่ช่วงปลายช่อ กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ผลโป่งพอง กลม (ภาพ: บึงกาฬ - PK)
ผักหวานนก
Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan
วงศ์ Phyllanthaceae
ชื่อพ้อง Sauropus hirsutus Beille
ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 2 ม. แตกกิ่งต�่า มีขนหยาบหนาแน่น หูใบยาว 2-4 มม.
ผักหนาม: ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ กาบรูปแถบบิดเวียน ปลายผลมีตุ่มหนาม (ภาพ: cultivated - RP) ใบส่วนมากรูปรี บางครั้งรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5-7.5 ซม. ปลายแหลมสั้น
286
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 286 3/1/16 5:57 PM