Page 301 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 301

ผักปลัง                                                        สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ผักปังแป
                    Basella alba L.
                    วงศ์ Basellaceae
                      ชื่อพ้อง Basella rubra L.
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. ส่วนต่าง ๆ อวบน�้า สีเขียวหรือแดง ใบเรียงเวียน
                    รูปไข่กว้าง ยาว 3-12 ซม. ปลายแหลม โคนแหลมหรือรูปหัวใจ ก้านใบยาว 1-3 ซม.
                    ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 25 ซม. ดอกออกช่วงปลายช่อ
                    ช่อที่ปลายกิ่งเหมือนช่อแยกแขนง ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
                    ดอกไร้ก้าน กลีบรวมยาว 3-4 มม. เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ   ผักปลาบเครือ: ใบรูปไข่แกมรูปหัวใจ ปลายยาวคล้ายหาง ช่อดอกย่อยแบบช่อวงแถวเดี่ยว วงใบประดับคล้ายใบสีขาว
                    5 แฉก ไม่เปิดออก ติดทน เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบรวม ก้านชูอับเรณูสั้น   ก้านชูอับเรณูมีขนเคราสีเหลืองครีม (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - PK)
                    รังไข่มี 1 ช่อง ออวุล 1 เม็ด ติดที่โคน ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเพศเมียแยก
                    3 แฉก ผลสดเป็นกระเปาะกลม ๆ มีกลีบรวมสดหุ้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 มม.   ผักปลาบนา
                    สุกสีแดงหรือสีม่วงอมด�า มีเมล็ดเดียว                Cyanotis axillaris (L.) D. Don ex Sweet
                       อาจมีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกา พบทั่วไปในเขตร้อน ปลูกเป็นผักริมรั้วหรือไม้ประดับ   วงศ์ Commelinaceae
                    มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง น�้าฉ�่าสีม่วงในผลใช้เป็นสีผสมอาหาร   ชื่อพ้อง Commelina axillaris L.
                                                                           ไม้ล้มลุก สูง 30-40 ซม. แตกแขนงใกล้โคนแผ่กว้าง เกลี้ยงหรือมีขนด้านเดียว
                       สกุล Basella L. มี 5 ชนิด พบที่มาดากัสการ์ และแอฟริกา ชื่อสกุลมาจากภาษา   กาบหุ้มล�าต้น 0.5-1.2 ซม. มีขนยาวกระจาย ใบเรียงสลับระนาบเดียวหรือเรียงเวียน
                      Malabar ในอินเดีย “basella-kira” ที่ใช้เรียกพืชชนิดนี้
                                                                        รูปแถบ ส่วนมากยาว 2-8 ซม. โคนเรียวจรดกาบใบ ขอบใบมีขนสาก แผ่นใบมี
                      เอกสารอ้างอิง                                     ขนครุยด้านล่าง ช่อดอกอยู่ภายในกาบ ลดรูปเป็นกระจุก 3-8 ดอก บานทีละดอก
                       Larsen, K. (1992). Basellaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 410-412.  ใบประดับย่อยบางใส ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปใบพาย ยาว 6-9 มม.
                       Lu, D. and M.G. Gilbert. (2003). Basellaceae. In Flora of China Vol. 5: 445.  ด้านนอกมีขนหยาบ กลีบดอก 3 กลีบ สีฟ้าอมม่วงหรือขาว กลางกลีบเชื่อมติดกัน
                                                                        หลอดกลีบดอกยาว 0.8-1 ซม. กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 4-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน
                                                                        ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 ซม. มีขนเครา อับเรณูสีเหลือง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย
                                                                        ยาวประมาณ 1 ซม. ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก รูปรี แบน ยาว 4-7 มม. ปลายมีเขา
                                                                        6 อัน มี 1-2 เมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 2 มม. สีด�า มีรอยบุ๋มกระจาย
                                                                           พบในแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                                                                        ทางตอนบนของออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึงประมาณ
                                                                        500 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณกระตุ้นเลือดลม แก้ปวดข้อ
                                                                           สกุล Cyanotis D. Don มีประมาณ 50 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และ
                                                                           ออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 6 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kyanos”
                                                                           สีน้ำาเงิน และ “otus” หู ตามลักษณะและสีของกลีบดอก
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Hong, D. and R.A. Filipps. (2000). Commelinaceae. In Flora of China Vol. 24: 23.
                      ผักปลัง: ส่วนต่าง ๆ อวบน�้า สีเขียวหรือแดง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด กลีบรวมไม่เปิดออก ผลสดเป็นกระเปาะกลม ๆ
                    มีกลีบรวมสดหุ้ม (ภาพ: cultivated - RP)
                    ผักปลาบเครือ
                    Streptolirion volubile Edgew.
                    วงศ์ Commelinaceae
                       ไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดเลื้อย ใบเรียงเวียน กาบใบยาว 1-4 ซม. ใบรูปไข่แกมรูป
                    หัวใจ ยาว 5-15 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง ก้านใบยาว 5-17 ซม. แผ่นใบมีขน
                    กระจาย ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงออกที่ข้อตรงข้ามใบ ยาว 15 ซม.
                    ก้านช่อยาว 7-15 ซม. ช่อย่อยแบบช่อวงแถวเดี่ยว มี 2-10 ดอก วงใบประดับ
                    คล้ายใบ สีขาว ยาว 1.5-6 ซม. ดอกสีขาว ดอกสมบูรณ์เพศติดบนใบประดับ  ผักปลาบนา: ใบเรียงสลับในระนาบเดียวหรือเวียนสลับ รูปแถบ ช่อดอกซ่อนอยู่ภายในกาบใบ บานทีละดอก
                    ช่วงล่าง ดอกเพศผู้ติดช่วงปลายกิ่ง ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 3 กลีบ คล้ายรูปเรือ   ขอบปากกาบใบมีขนครุย เกสรเพศผู้มีขนเครา อับเรณูสีเหลือง (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                    ยาว 3-8 มม. กลีบดอก 3 กลีบ รูปแถบ ยาว 0.5-1 ซม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอับเรณู  ผักปังแป
                    ยาว 5-9 มม. มีขนเคราสีเหลืองครีม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 4-7 มม.   Canscora diffusa (Vahl) R. Br. ex Roem. & Schult.
                    ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก รูปรี ยาว 0.5-1 ซม. จะงอยคล้ายเขายาว
                    2-4 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก รูปคล้ายไต ยาว 4-5 มม. ผิวย่น ขั้วเมล็ดรูปแถบ  วงศ์ Gentianaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Gentiana diffusa Vahl
                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ เกาหลี ญี่ปุ่น พม่า ลาว เวียดนาม และภาคเหนือของไทย
                    ขึ้นตามชายป่า ที่โล่งในป่าดิบเขา หรือบนเขาหินปูน ความสูง 1300-2500 เมตร  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 1-4 ซม. เส้นโคนใบข้างละ
                                                                        1 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกห่าง ๆ มีได้ถึง 40 ดอก
                       สกุล Streptolirion Edgew. มีชนิดเดียว แยกเป็น subsp. khasianum (C. B.   ใบประดับยาว 1-4 มม. ก้านดอกยาวได้ถึง 1.5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-7 มม.
                       Clarke) D. Y. Hong พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และเวียดนาม ลำาต้นและใบมีขน  ปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปสามเหลี่ยม ยาว 1-2 มม. ดอกสีชมพู หลอดกลีบยาว
                       หยาบหนาแน่น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “streptos” บิดเวียน และ “leirion”   4-7 มม. ปลายแยกเป็น 4 กลีบ กลีบใหญ่ 2 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 2-6 มม. กลีบเล็ก
                       ดอกลิลลี่ หมายถึงพืชมีดอกคล้ายดอกลิลลี่ ลำาต้นบิดเวียน  2 กลีบ รูปรีแคบ ยาว 2-4 มม. เกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม.
                                                                        รังไข่เรียว ยาว 3-7 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ผลรูปขอบขนาน
                      เอกสารอ้างอิง
                       Hong, D. and R.A. Filipps. (2000). Commelinaceae. In Flora of China Vol. 24: 20.  ยาว 3-7 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สามยอด, สกุล)

                                                                                                                    281






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   281                                                                 3/1/16   5:56 PM
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306