Page 296 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 296

ผักตบชวา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     บิดม้วนงอในผล เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบรวม อันใหญ่ 1 อัน ก้านชูอับเรณู
                                                                     หนา ยาวกว่าอันเล็ก อับเรณูยาว 5-6 มม. สีม่วง อันเล็ก 5 อัน อับเรณูยาว 3-4 มม.
                                                                     สีเหลือง รังไข่มี 3 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ปลายมีขนสั้น ผลแห้งแตก
                                                                     เป็น 3 ซีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. เมล็ดขนาดเล็กมีปีก
                                                                       พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย
                                                                     ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ หนองน�้า ทะเลสาบ และท้องนา แยกเป็น โพลง var. elata (Ridl.)
                                                                     Backer ช่อดอกยาวกว่าก้านใบ มีสรรพคุณเป็นยาเย็น ช่วยควบคุมอารมณ์ และ
                                                                     ลดความคลั่ง น�้าสกัดจากดอกดื่มแก้ไข้มาลาเรีย

                                                                       สกุล Monochoria C. Presl มี 8 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย
                                                                       ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ขาเขียด M. vaginalis (Burm. f.) C. Presl. ex
                                                                       Kunth ลำาต้นสั้น ใบเรียวแคบ โคนใบไม่เป็นรูปลูกศร ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                       “monos” อันเดียว และ “choris” แยก ตามลักษณะของเกสรเพศผู้ที่มีอันใหญ่
                  ผักคาวทอง: หูใบคล้ายกาบ ใบรูปไข่กว้างคล้ายรูปหัวใจ ใบประดับคล้ายแผ่นกลีบดอก มี 4 ใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด
                ดูคล้ายดอกเดี่ยว ๆ ดอกย่อยไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก (ภาพ: เชียงแสน เชียงราย - RP)  แยกออกมาอันเดียว
                ผักตบชวา                                              เอกสารอ้างอิง
                Eichhornia crassipes (Mart.) Solms                     Chayamarit, K. (2005). Pontederiaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 53-57.
                                                                       Wu, G. and C.N. Horn. (2000). Pontederiaceae. In Flora of China Vol. 24: 40-41.
                วงศ์ Pontederiaceae
                  ชื่อพ้อง Pontederia crassipes Mart.
                   ไม้น�้าล้มลุก รากจ�านวนมาก ยาวได้ถึง 1 ม. ล�าต้นสั้น มีไหลยาว ใบออกเป็น
                กระจุก รูปไข่กว้าง รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด หรือกลม ยาว 4.5-14.5 ซม. โคนรูปหัวใจ
                แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบอวบ ยาว 10-40 ซม. ด้านในเป็น
                ฟองน�้า ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านยาว 35-45 ซม. มี 7-15 ดอก เรียงเวียน ใบประดับ
                ขนาดเล็ก ดอกสมมาตรด้านข้าง ไร้ก้าน กลีบรวมสีม่วง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่
                กลีบบนกลางกลีบมีสีเหลืองแต้ม ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง เกสรเพศผู้มี 6 อัน
                ยาว 3 อัน สั้น 3 อัน ติดที่โคนกลีบรวม ก้านชูอับเรณูมีขนต่อม รังไข่ 3 ช่อง ออวุล
                จ�านวนมาก เกสรเพศเมียต่างสัณฐาน ยอดเกสรจักเป็นพูตื้น มีขนต่อม ผลแห้งแตก
                รูปไข่ มีหลอดกลีบรวมแห้งหุ้ม เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก มีปีกตามยาว
                   มีถิ่นก�าเนิดในบราซิล ขึ้นเป็นวัชพืชตามแหล่งน�้าในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
                ทั้งต้นเป็นอาหารสัตว์ ใบอ่อนกินเป็นผักสด              ผักตบไทย: ช่อดอกออกเป็นกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ดอกจ�านวนมาก กลีบรวมบิดม้วนงอในผล (ภาพซ้าย: กรุงเทพฯ - RP);
                                                                     ขาเขียด: ล�าต้นสั้น โคนใบไม่เป็นรูปเงี่ยงใบหอก (ภาพขวา: อุบลราชธานี - RP)
                   สกุล Eichhornia Kunth มี 7 ชนิด 6 ชนิดพบในอเมริกาเขตร้อน หนึ่งชนิดพบ
                   ในแอฟริกา ในไทยขึ้นเป็นวัชพืชชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามรัฐบุรุษของเยอรมัน   ผักตำาลึง
                   Johann Eichhorn (1779-1856)                       Coccinia grandis (L.) Voigt
                                                                     วงศ์ Cucurbitaceae
                  เอกสารอ้างอิง
                   Chayamarit, K. (2005). Pontederiaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 54.  ชื่อพ้อง Bryonia grandis L.
                   Wu, G. and C.N. Horn. (2000). Pontederiaceae. In Flora of China Vol. 24: 40-41.  ไม้เถาล้มลุก แยกเพศต่างต้น เกล็ดประดับยาว 2-3 มม. มือจับออกตามซอกใบ
                                                                     ไม่แยกแขนง ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง จักตื้น ๆ หรือแฉกลึก 3-5 แฉก ยาว 5-10 ซม.
                                                                     โคนรูปหัวใจ ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีติ่ง แผ่นใบสากด้านล่าง โคนมีต่อมขนาดเล็ก
                                                                     ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นแบบช่อกระจะสั้น ๆ มี
                                                                     2-3 ดอก ก้านดอกยาว 2-5 ซม. ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 6-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                                                                     รูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ 3 มม. ดอกรูประฆังกว้าง สีขาว ยาว 1.5-3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
                                                                     ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปสามเหลี่ยม เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนปากฐานดอก ที่จุดติด
                                                                     มีขนหนาแน่น อับเรณูชิดกันเป็นก้อน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. เป็นหมัน
                                                                     ในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม.
                                                                     ยอดเกสรแยก 3 แฉก ยาว 5-7 มม. ปลายจัก 2 พู ผลสดมีหลายเมล็ด รูปขอบขนาน
                  ผักตบชวา: ไม้น�้าล้มลุก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกสมมาตรด้านข้าง กลีบบนกลางกลีบมีสีเหลืองแต้ม ขนาดใหญ่  ยาว 2.5-6 ซม. สุกสีแดงสด เมล็ดรูปแบน ยาว 6-7 มม.
                กว่ากลีบล่าง (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                                                                       พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ขึ้นเป็นวัชพืชในหลายประเทศในเขตร้อน
                ผักตบไทย                                             ส่วนมากพบถึงความสูงประมาณ 400 เมตร ยอดอ่อนและผลอ่อนใช้ปรุงอาหาร
                Monochoria hastata (L.) Solms                        ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
                วงศ์ Pontederiaceae                                    สกุล Coccinia Wight & Arn. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Cucurbitoideae มีประมาณ
                  ชื่อพ้อง Pontederia hastata L.                       30 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกา ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                   ไม้น�้าล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. เหง้ายาว มีกาบใบแก่หุ้ม ใบรูปสามเหลี่ยม ยาว 5-25 ซม.   “kokkinos” สีแดง ตามลักษณะผลสุกสีแดง
                โคนรูปเงี่ยงใบหอก ก้านใบยาว 30-90 ซม. ช่อมีกาบหุ้ม ออกตามซอกกาบ ก้านใบ
                ช่วงที่มีช่อดอกยาว 7-10 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ยาว 2-6 ซม.   เอกสารอ้างอิง
                                                                       de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
                ก้านช่อสั้น ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว 1-3 ซม. กลีบรวมสีม่วงอ่อน มี 6 กลีบ   Thailand Vol. 9(4): 423-425.
                แยกจรดโคน วงนอก 3 กลีบ วงใน 3 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1-1.6 ซม.   Lu, A. and C. Jeffrey. (2011). Cucurbitaceae. In Flora of China Vol. 19: 52.


                276






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   276                                                                 3/1/16   5:55 PM
   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301