Page 291 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 291
ผกากรองป่า ผักกระจับ สารานุกรมพืชในประเทศไทย ผักกระเฉด
Lantana trifolia L. Philydrum lanuginosum Banks & Sol. ex Gaertn.
วงศ์ Verbenaceae วงศ์ Philydraceae
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. ล�าต้นเป็นเหลี่ยมมน ไม่มีหนาม ใบเรียงรอบข้อ 3 ใบ หรือ ไม้ล้มลุก แตกกอ มีเหง้าใต้ดิน รากหนาแน่น ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบ
เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-10 ซม. ขอบจักมน แผ่นใบด้านล่าง ยาว 40-70 ซม. กาบใบยาว 5-20 ซม. ใบบนก้านช่อดอกขนาดเล็ก ใบประดับ
มีขนหนาแน่นและต่อมกระจาย ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นคล้ายช่อเชิงลด ออก คล้ายใบ ปลายเรียวแหลม พับงอในระยะออกดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะ มีขน
ช่อเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ยาวได้ถึง 6 ซม. ในผล ก้านช่อสั้นหรือยาวกว่าช่อดอก คล้ายขนแกะ ก้านช่อยาว 30-150 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบรวม 4 กลีบ คู่นอกยาว
ใบประดับมีขนสั้นนุ่ม ช่วงโคนช่อรูปไข่ ยาว 0.7-1 ซม. ช่วงปลายช่อเรียวแคบ 1.2-1.5 ซม. ปลายเรียวยาว ขอบจักมนถี่ กลีบด้านล่างปลายแยก 2 แฉก คู่ใน
และสั้นกว่า ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายจักไม่ชัดเจน ดอกสีม่วง ขนาดเล็กกว่า รูปใบพาย ยาว 4-7 มม. เกสรเพศผู้มีอันเดียว ติดบนกลีบด้านใน
หรือชมพู สมมาตรด้านข้าง ปากหลอดกลีบสีเหลือง ด้านนอกและปากหลอดมี หรือด้านนอกกลีบล่าง ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 5 มม. อับเรณูมี 2 พู บิดโค้งงอ
ขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบโค้ง ยาว 6-8 มม. มี 4 กลีบ รูปกลม สั้นกว่าหลอดกลีบ กลีบล่าง รังไข่มีขนคล้ายขนแกะหนาแน่น มี 3 คาร์เพล ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-4 มม.
ยาวกว่ากลีบอื่นเล็กน้อย เกสรเพศผู้สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ติดใต้จุดกึ่งกลางหลอดกลีบ ยอดเกสรเป็นตุ่มคล้ายสามเหลี่ยม ผลแห้งแตก รูปขอบขนานแกมรูปสามเหลี่ยม
ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่มเบี้ยว ยาวประมาณ 1 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
ช่อผลยื่นยาว ผลสดผนังชั้นในแข็ง แก่สีม่วง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม.
มี 2 ไพรีน แต่ละไพรีนมีเมล็ดเดียว พบที่หมู่เกาะอันดามันของอินเดีย พม่า เวียดนาม ไต้หวัน ฮ่องกง คาบสมุทรมลายู
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในแอฟริกา และเอเชีย ในไทย นิวกินี ออสเตรเลีย และภาคใต้ของไทย ขึ้นตามที่ชื้นแฉะที่โล่ง นาข้าว ความสูง
ส่วนมากพบตามป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูนทางภาคเหนือ ความสูงถึงประมาณ ไม่เกิน 50 เมตร
1000 เมตร สกุล Philydrum Banks ex Gaertn. เป็นสกุลที่มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษา
สกุล Lantana L. มีประมาณ 55 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกา และแอฟริกา กรีก “phileo” เพื่อน และ “hydro” น้ำา หมายถึงพืชชอบน้ำา ตามลักษณะถิ่นที่อยู่
ในไทยมี 3 ชนิด ที่พบทั่วไปคือ ผกากรอง L. camara L. ลำาต้นมีหนาม แผ่นใบสาก เอกสารอ้างอิง
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น มีหลากสี มีถิ่นกำาเนิดในแถบหมู่เกาะแคริบเบียน Larsen, K. (1987). Philydraceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 104-105.
ส่วนผกากรองเลื้อย L. montevidensis (Spreng.) Briq. มีถิ่นกำาเนิดในอเมริกาใต้
เป็นไม้เถา ไม่มีหนาม ดอกส่วนมากมีสีม่วงอมฟ้า
เอกสารอ้างอิง
Atkins, S. (2010). Verbenaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(2): 252-261.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
ผักกระจับ: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งชื้นแฉะ ช่อดอกมีขนคล้ายขนแกะปกคลุมทั่วไป ดอกสีเหลือง (ภาพ: ชุมพร - PK)
ผักกระเฉด, สกุล
Neptunia Lour.
วงศ์ Fabaceae
ไม้ล้มลุก ขึ้นบนดินหรือลอยในน�้า หูใบไม่เป็นหนาม ใบประกอบ 2 ชั้น ไวต่อ
การสัมผัส ใบย่อยเรียงตรงข้าม ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่น ทรงกลมหรือรี
ดอกสมบูรณ์เพศเฉพาะดอกด้านบน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก
กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 10 อัน ผลติดกันเป็นกระจุก ฝักแบน เมล็ดรูปรี
ผกากรองป่า: ขอบใบจักมน ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ใบประดับมีขนสั้นนุ่ม กลีบดอกสมมาตรด้านข้าง ปากหลอด แบน ๆ สีน�้าตาล
กลีบดอกสีเหลือง ช่อผลยื่นยาว ผลแก่สีม่วง (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก; ภาพช่อดอก - RP, ภาพผลช่อผล - PK)
สกุล Neptunia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Mimosoideae มีประมาณ 13 ชนิด พบใน
เขตร้อน ในไทยพบเป็นวัชพืช 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก Neptunus เทพเจ้าแห่งน้ำา
ของชาวโรมัน
ผักกระเฉด
Neptunia oleracea Lour.
ผกากรอง: ต้นที่ขึ้นเป็นวัชพืชดอกส่วนมากสีส้ม ปากหลอดกลีบไม่มีสีแหลืองแต้ม ต้นที่เป็นไม้ประดับมีหลากสีและ ไม้ล้มลุก ล�าต้นมีนวมสีขาว หูใบรูปหัวใจเบี้ยว ยาว 4-8 มม. ใบประกอบมี
ปากหลอดกลีบดอกมีสีเหลืองแต้ม (ภาพดอกสีส้ม: เขางู ราชบุรี, ภาพดอกหลากสี: cultivated; - RP) 2-4 ใบประกอบย่อย แกนกลางใบประกอบยาว 3.5-8 ซม. ก้านใบประกอบยาว
2-4 ซม. ไม่มีต่อม ใบย่อยมีไม่เกิน 20 คู่ รูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 0.4-1 ซม.
ปลายมีติ่ง โคนตัด ก้านช่อยาว 12-30 ซม. มี 30-50 ดอก ดอกที่เป็นหมันกลีบเลี้ยง
ยาว 0.1-1.5 มม. กลีบดอกยาว 2-3.5 มม. เกสรเพศผู้เป็นหมันรูปเส้นด้าย ยาว
0.7-1.5 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงยาว 2-3 มม. กลีบดอกยาว 3-4.5 มม.
เกสรเพศผู้ยาว 6-9 มม. รังไข่เกลี้ยง มีก้าน ฝักรูปขอบขนาน ยาว 2-4 ซม. มี
4-20 เมล็ด รูปไข่ ยาว 4-5 มม.
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ คล้ายกับผักกระฉูด N. plena (L.) Benth. ใบย่อย
ผกากรองเลื้อย: ไม้เถา ใบเรียงตรงข้าม ขอบจักมน ดอกสีม่วงอมฟ้า (ภาพ: cultivated - RP) มีมากกว่า 20 คู่ ยอดอ่อนกินได้แต่เหนียวกว่าผักกระเฉด ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไป
271
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 271 3/1/16 5:53 PM