Page 289 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 289

เอกสารอ้างอิง                                     โป๊ยกั๊กป่า  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  โปร่งกิ่ว
                       Kosyermans, A.J.G.H. (1962). Miscellaneous botanical notes 4. Reinwardtia
                          6(3): 297.                                    Illicium tenuifolium (Ridl.) A. C. Sm.
                       Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 14.  วงศ์ Schisandraceae
                                                                          ชื่อพ้อง Illicium cambodianum Hance var. tenuifolium Ridl.
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียนรอบข้อ 3-6 ใบ รูปรี รูปไข่กลับ
                                                                        หรือรูปใบหอก ยาว 7-18 ซม. ปลายเแหลมยาวหรือเป็นติ่งแหลม โคนเรียวสอบ
                                                                        ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบหรือล�าต้น ก้านดอกยาว
                                                                        1-5 ซม. ดอกสีขาวหรืออมชมพู กลีบรวม 11-18 กลีบ เรียง 1-2 ชั้น กลีบวงนอก
                                                                        รูปไข่หรือกลม กลีบวงในรูปขอบขนาน ยาว 3-5 มม. เรียงซ้อนเหลื่อม เกสรเพศผู้
                                                                        มี 11-16 อัน เรียง 1-2 วง มี 5-8 คาร์เพล เรียงเป็นวง ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลมี
                                                                        5-8 ซีก แตกด้านบนตามรอยประสาน แต่ละซีกยาว 1-1.2 ซม. มีเมล็ดเดียว
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามสันเขา
                                                                        ในป่าดิบชื้น ความสูง 700-1500 เมตร

                                                                           สกุล Illicium L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Illiciaceae มีประมาณ 40 ชนิด ในไทยมี
                                                                           2-3 ชนิด ชนิด Illicium peninsulare A. C. Sm. ผลมี 13-14 ซีก พบเพียงครั้งเดียว
                      โปง: B. peltata ใบรูปก้นปิด ผลแห้งไม่แตก จักเป็นพูตื้น ๆ สีน�้าตาล (ภาพ: น�้าตกโคคลาน ตรัง - RP)
                                                                           ที่พังงา คล้ายกับ I. cambodianum Hance ซึ่งอาจพบทางภาคตะวันออกของไทย
                                                                           แถบชายแดนกัมพูชา อนึ่ง โป๊ยกั๊กจีนหรือจันทน์แปดกลีบ I. verum Hook. f.
                                                                           หรือ Star Anise พบเฉพาะในจีนและเวียดนามทางตอนบน เป็นพืชเศรษฐกิจ
                                                                           ปลูกมากในมณฑลกวางซีของจีน ให้น้ำามันหอมระเหย และใช้เป็นเครื่องเทศ
                                                                           เมล็ดมีสาร shikimic acid เป็นส่วนผสมสำาคัญของยา Tamiflu ที่ใช้รักษาโรค
                                                                           ไข้หวัดนก ชื่อสกุลหมายถึงกลิ่นน้ำามันหอมระเหยที่ดึงดูดใจ

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Keng, H. (1972). Illiciaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 115-116.
                                                                           Liu, Y., N. Xia and R.M.K. Saunders. (2008). Illiciaceae. In Flora of China Vol. 7: 32.

                      โปง: cf. B. helferiana ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบรูปก้นปิด (ภาพ: คลองนาคา ระนอง - RP)
                    โป่งมดง่าม
                    Stemona burkillii Prain
                    วงศ์ Stemonaceae
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 1 ม. ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง ยาว 9-17 ซม. โคนรูปหัวใจ
                    เส้นแขนงใบออกจากโคน 11-19 เส้น ก้านใบยาว 4-17 ซม. ช่อดอกออกตาม
                    ซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-4.5 ซม. มี 1-4 ดอก ใบประดับยาว 2-6 มม.
                    ดอกสีน�้าตาลอมแดง ก้านดอกยาว 1-2.5 ซม. กลีบรวมรูปใบหอก ปลายแหลม กว้าง
                    3-5 มม. ยาว 1.5-2.2 ซม. พับงอกลับ เกสรเพศผู้ยาว 1.8-2 ซม. รวมปลายแกน
                    อับเรณูรูปลิ่มแคบ บางครั้งมีรยางค์คล้ายเดือยขนาดเล็ก ผลรูปรี ยาว 2.5-3.5 ซม.
                    มี 3-5 เมล็ด สีชมพูเข้ม เรียว ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือปุง, สกุล)
                       พบที่พม่า ในไทยพบมากทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เพชรบูรณ์   โป๊ยกั๊กป่า: ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามล�าต้น กลีบรวมเรียงซ้อนเหลื่อม เกสรเพศผู้เรียง 1-2 วง ผลออกตามล�าต้นหรือ
                    ภาคกลางที่สระบุรี ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตาม   ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีประมาณ 8 ซีก (ภาพ: ฮาลา-บาลา ยะลา - RP)
                    ป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร   โปร่งกิ่ว

                      เอกสารอ้างอิง                                     Dasymaschalon lomentaceum Finet & Gagnep.
                       Duyfjes, B.E.E. and P. Inthachub. (2011). Stemonaceae. In Flora of Thailand   วงศ์ Annonaceae
                          Vol. 11(1): 77-80.
                                                                           ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 5 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ
                                                                        ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอกด้านนอก ใบรูปขอบขนาน ยาว 5-14 ซม.
                                                                        ปลายแหลมยาว โคนเว้าตื้น ๆ แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 2.5-5 มม.
                                                                        ดอกสีครีมอมเหลือง ก้านดอกยาว 0.5-1.3 ซม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปรีกว้างแกม
                                                                        รูปสามเหลี่ยม ยาว 1.5-3 มม. กลีบดอกหนา ติดกัน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                                                                        แกมรูปไข่ 1.5-2 ซม. ไม่บิดเป็นเกลียว เกสรเพศผู้ยาว 1.5-2.5 มม. ปลายมี
                                                                        รยางค์สั้น ๆ มน มี 9-11 คาร์เพล มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ปลายยอดเกสรเพศเมียมีขน
                                                                        ก้านช่อผลยาว 3-8 มม. ผลย่อยมี 4-9 ผล ยาว 1.5-1.8 ซม. ปลายมีติ่งแหลม
                                                                        ก้านยาวประมาณ 2 มม. มี 2-5 เมล็ด เรียงชิดกัน รูปรีเกือบกลม ยาวประมาณ 4 มม.
                                                                           พบที่กัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก
                                                                        ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูงระดับต�่า ๆ
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                      โป่งมดง่าม: ใบเรียงเวียน โคนรูปหัวใจ เส้นแขนงใบออกจากโคน 11-19 เส้น ดอกสีน�้าตาลอมแดง กลีบพับงอกลับ   Wang, J., P. Chalermglin and R.M.K. Sauders. (2009). The genus Dasymaschalon
                    ปลายแกนอับเรณูรูปลิ่มแคบ กลีบรวมติดทนในผล (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก; ภาพใบ - RP, ภาพดอกและผล - PK)  (Annonaceae) in Thailand. Systematic Botany 34(2): 261-262.

                                                                                                                    269






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   269                                                                 3/1/16   5:52 PM
   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294