Page 284 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 284
เปราะหอม
เปราะหอม, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Kaempferia L.
วงศ์ Zingiberaceae
ไม้ล้มลุก มีเหง้าสั้น ๆ รากอวบหนาเป็นหัวขนาดเล็ก ใบออกจากเหง้า กาบใบ
มีสัน ลิ้นใบขนาดเล็กหรือไม่มี ช่อดอกส่วนมากออกระหว่างกาบใบหรือกาบที่ไร้ใบ
ใบประดับเรียงเวียนสั้น ๆ ใบประดับแต่ละใบมีดอกเดียว ใบประดับย่อย 2 ใบ
กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด แยกด้านเดียว ปลายจักตื้น ๆ 2-3 จัก กลีบดอก
เชื่อมติดกันเป็นหลอด หลอดกลีบเรียวยาว กลีบดอก 3 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเป็นแผ่น กลีบปากแฉกลึกหรือเว้าตื้น ก้านชูอับเรณูสั้นมาก
ปลายแกนอับเรณูยื่นเลยหลอดกลีบดอก รังไข่มี 3 ช่อง ผลแห้งแตก รูปกลม ๆ
เมล็ดมีเยื่อหุ้มจักเป็นครุย
สกุล Kaempferia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Zingiberoideae เผ่า Zingibereae มีมากกว่า เปราะราศี: ใบมี 2-4 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกออกกลางกลุ่มใบ กลีบดอกสีขาว รูปแถบ แผ่นเกสรเพศผู้ที่
60 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมีมากกว่า 25 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนายแพทย์ เป็นหมันรูปไข่กลับ สีม่วง กลีบปากสีม่วง แยกจรดโคน โคนมีสีขาว (ภาพ: อุบลราชธานี - PK)
ชาวเยอรมัน Engelbert Kaempfer (1651-1716)
เปราะหอม
Kaempferia galanga L.
ไม้ล้มลุก ส่วนมากมี 2-3 ใบ แบนราบ รูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 6-14 ซม.
ปลายเป็นติ่งแหลม โคนกลมหรือรูปหัวใจ ขอบบาง แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม
ไร้ก้าน กาบใบหนารูปใบหอก ยาวประมาณ 5 ซม. ลิ้นใบบาง มีขน ช่อดอกไร้ก้าน
มีหลายดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว 2-3 ซม. ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาว 2-3 ซม.
ม้วนงอตามเส้นกลางใบ หลอดกลีบเลี้ยง ยาว 2-2.5 ซม. ปลายแยก 2 แฉก ตื้น ๆ
หลอดกลีบดอกยาว 3-4 ซม. กลีบดอกสีขาว รูปใบหอก ยาว 1.5-2 ซม. กลีบหลัง
ปลายแหลม กลีบข้างปลายทู่ แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันสีขาว รูปไข่กลับหรือ
แกมรูปใบหอก ยาว 1.5-2 ซม. กลีบปากแยกจรดโคน สีขาวมีปื้นสีม่วงช่วงโคน
กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1.8-2.2 ซม. อับเรณูยาว 3-4 มม. ปลายแกนอับเรณูเป็นสัน เปราะหอม: ใบแบนราบ ขอบบาง ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ไร้ก้านช่อ กลีบปากแยกจรดโคน สีขาวมีปื้นสีม่วง
รูปรี ยาว 4-5 มม. จักลึก 2 พู ก้านเกสรเพศเมียยาว 4-6 มม. ช่วงโคน (ภาพซ้ายบนและภาพขวา: cultivated - JM); เปราะป่า: ขอบใบมีสีม่วงอมน�้าตาล (ภาพซ้ายล่าง: ตาก - RP)
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า คาบสมุทรมลายู ชวา ในไทยพบทุกภาค
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร มี
ความผันแปรสูง อนึ่ง เปราะป่า K. marginata Carey ex Roscoe ที่ขอบใบสีม่วง
อมน�้าตาล และปื้นสีม่วงบนกลีบปากอยู่ประมาณช่วงกลางกลีบ อาจจะเป็นชื่อพ้อง
ของเปราะหอม (pers. com. John Mood) ส่วนต่าง ๆ มีสารที่ก่อให้เกิดอาการ
ประสาทหลอน มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
เปราะใหญ่
Kaempferia elegans (Wall.) Baker เปราะใหญ่: ช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ก้านดอกสั้นหรือยาว แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันสีม่วงอมชมพู โคนสีขาว
ชื่อพ้อง Monolophus elegans Wall. กลีบปากแยกจรดโคน (ภาพ: ตาก - RP)
ไม้ล้มลุก สูง 10-20 ซม. มี 2-4 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 13-15 ซม. เปล้า, สกุล
ปลายแหลม โคนรูปลิ่มหรือเว้าตื้น แผ่นใบด้านล่างสีเขียวอ่อนหรืออมม่วง ด้านบน Croton L.
บางครั้งมีลายเป็นปื้น ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. กาบที่ไร้ใบยาว 3-10 ซม. ด้านนอก
มีขน ลิ้นใบขนาดเล็ก ก้านช่อยาว 3-20 ซม. ดอกบานครั้งละ 1-2 ดอก ใบประดับ วงศ์ Euphorbiaceae
รูปใบหอก ยาว 2.5-6 ซม. ใบประดับย่อยยาวไม่เท่ากัน ยาว 1.5-2 ซม. ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไม้ต้น หรือไม้เถา แยกเพศร่วมต้น สิ่งปกคลุมเป็นขนสั้นนุ่ม
หลอดกลีบเลี้ยงยาว 2-3 ซม. ปลายแยก 2 แฉก มีขนครุย หลอดกลีบดอกยาว รูปดาวและเกล็ดรังแค หูใบส่วนมากขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือเรียงหนาแน่น
5-7 ซม. กลีบดอกสีขาว รูปใบหอก ยาว 1.7-2 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ที่ปลายกิ่ง มีต่อมหนึ่งคู่ที่โคนใบหรือก้านใบ ใบมักมีสีส้มก่อนร่วง ช่อดอกแบบ
สีม่วงอมชมพู โคนสีขาว หรือมีสีขาวทั้งแผ่นกลีบ รูปไข่กลับกว้างเกือบกลม ช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ดอกเพศผู้จ�านวนมากอยู่ช่วงปลายช่อ แต่ละใบประดับ
ยาว 1.2-2 ซม. กลีบปากแยกจรดโคน กลีบรูปไข่กลับ ยาว 2-2.8 ซม. อับเรณู มี 1-5 ดอก ดอกเพศเมียอยู่ช่วงล่าง แต่ละใบประดับมีดอกเดียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแกนอับเรณูเป็นสันเกือบกลม ยาวประมาณ 6 มม. เชื่อมติดกันที่โคน มีขนสั้นนุ่ม กลีบดอก 5 กลีบ ในดอกเพศเมียส่วนมากไม่มี
กลีบดอก จานฐานดอกจักเป็นพู เกสรเพศผู้ 10-20 อัน อับเรณูมี 2 ช่อง ติดที่ฐาน
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า คาบสมุทรมลายู และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทาง ในดอกเพศเมียไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน รังไข่ 3 ช่อง มีขน ออวุลมี 1 เม็ดใน
ภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง แต่ละช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน แยกหรือเชื่อมติดกันที่โคน ปลายส่วนมากแยก
และป่าดิบชื้น ความสูงไม่เกิน 1000 เมตร 2 แฉก ติดทน ในดอกเพศผู้ไม่มีวงเกสรเพศเมียที่เป็นหมัน ผลแห้งแตก กลม ๆ
หรือจัก 3 พู มี 3 เมล็ด แบนรี
เอกสารอ้างอิง
Sirirugsa, P. (1989). The genus Kaempferia (Zingiberaceae) in Thailand. Nordic สกุล Croton อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Crotonoideae เผ่า Crotoneae มีประมาณ
Journal of Botany 9: 257-259.
________. (1992). Taxonomy of the genus Kaempferia (Zingiberaceae) in Thailand. 800 ชนิด พบในเขตร้อนโดยเฉพาะในอเมริกากลาง ในเอเชียมีเกือบ 100 ชนิด
Thai Forest Bulletin (Botany) 19: 1-15. ในไทยมี 32 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kroton” เห็บ ตามลักษณะของเมล็ด
Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 368-370. หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
264
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 264 3/1/16 5:51 PM