Page 282 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 282

เปราะทองราศี
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ยาว 7-9 มม. ช่อดอกเพศเมีย ก้านช่อยาว 20-30 ซม. มีช่อย่อย 20-40 ช่อ ยาว   สกุล Cornukaempferia Mood & K. Larsen อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Hedychioideae
                9-30 ซม. ดอกเพศเมียยาว 3-5 มม. ช่อผลยาว 1-1.5 ม. ตั้งตรง ผลรูปรี ยาว 1-1.2 ซม.   สกุลพืชถิ่นเดียวของไทย แยกจากสกุล Kaempferia ที่กลีบปากเรียบ และจากสกุล
                หน้าตัดแบน                                             Boesenbergia ที่แกนอับเรณูยื่นยาวเป็นสัน และดอกออกที่ยอด มี 3 ชนิด อีก
                   พบที่อินเดีย รวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ บังกลาเทศ พม่า เวียดนาม   2 ชนิดคือ C. longipetiolata Mood & K. Larsen ลำาต้นตั้งขึ้น ก้านใบยาวกว่า แผ่นใบ
                คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้   มีปื้นด่างเล็กน้อย พบทางภาคเหนือ และ C. larsenii P. Saensouk ก้านใบสั้น
                ขึ้นตามชายป่าโกงกางหรือที่โล่งน�้าทะเลท่วมถึง          แผ่นใบด้านล่างไม่มีสีม่วง พบทางภาคเหนือที่พิษณุโลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                       ที่เลย ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “cornu” เขา และสกุล Kaempferia ตามลักษณะ
                  เอกสารอ้างอิง                                        สันเกสรเพศผู้ยาวคล้ายเขาที่คล้ายกับสกุล Kaempferia
                   Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(3):
                      461-465.                                        เอกสารอ้างอิง
                                                                       Mood, J. and K. Larsen. (1997). Cornukaempferia, a new genus of Zingiberaceae
                                                                          from Thailand. Natural History Bulletin of the Siam Society 45: 217-221.
                                                                       ________. (1999). New to cultivation: the genus Cornukaempferia in Thailand
                                                                          with description of a second species. New Plantsman 6: 196-205.
                                                                       Saensouk, P., P. Theeraulpisut and P. Chantaranothai. (2007). Cornukaempferia
                                                                          larsenii sp. nov. (Zingiberaceae): A new species from Thailand. Natural
                                                                          History Journal of Chulalongkorn University 7(2): 115-119.





                  เป้ง: ปาล์มล�าต้นเดี่ยว ใบแห้งติดทน ใบย่อยเรียงเป็นกลุ่ม 3-4 ใบ แผ่กระจายหลายทาง ช่อผลโค้งเล็กน้อย (ภาพ:
                แม่สะนาม เชียงใหม่ - RP)


                                                                      เปราะทองราศี: C. aurantiflora ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่กว้าง แผ่นใบด้านบนมีปื้นด่างสีเงินระหว่างเส้นใบ
                                                                     กลีบปากสีส้ม โคนมีลายสีแดง รูปสามเหลี่ยมกว้างคล้ายถุง แกนอับเรณูยื่นยาวเป็นสันคล้ายเขา (ภาพ: พิษณุโลก - JM)








                  เป้งทะเล: ปาล์มแตกกอ ขึ้นหนาแน่นตามชายป่าโกงกาง โคนใบแห้งติดทน (ภาพ: สมุทรสงคราม - PK)




                                                                      เปราะทองราศี: C. larsenii แผ่นใบด้านบนไม่มีปื้นด่าง ก้านใบสั้น กลีบปากเรียวแคบกว่า (ภาพ: พิษณุโลก - JM)








                  ปาล์มสิบสองปันนา: ปาล์มแตกกอ ใบย่อยแผ่ระนาบเดียว (ภาพ: cultivated - RP)
                เปราะทองราศี
                Cornukaempferia aurantiflora Mood & K. Larsen
                                                                      เปราะทองราศี: C. longipetiolata ล�าต้นตั้งขึ้น ก้านใบยาว แผ่นใบมีปื้นด่างเล็กน้อย กลีบเลี้ยงรูปใบหอก
                วงศ์ Zingiberaceae                                   (ภาพ: น�้าหนาว เพชรบูรณ์ - JM)
                   ไม้ล้มลุกมีเหง้า รากอวบหนา ยาวได้ถึง 8 ซม. มี 2-3 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว   เปราะใบแคบ
                รูปไข่กว้าง ยาว 20-25 ซม. แผ่นใบด้านบนมีปื้นด่างสีเงินระหว่างเส้นใบ ด้านล่าง
                สีม่วง มีขนยาวสีขาว ก้านใบส่วนมากยาว 5-6 ซม. กาบใบยาว 3-10 ซม. ลิ้นกาบสั้น   Kaempferia filifolia K. Larsen
                ปลายเว้าตื้น ช่อดอกออกที่ยอด ใบประดับเรียงเวียน รูปใบหอก ใบล่างยาวได้ถึง   วงศ์ Zingiberaceae
                5 ซม. เล็กลงสู่ปลายช่อ สีเขียว ปลายสีชมพู แต่ละใบมีดอกเดียว หลอดกลีบเลี้ยง  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 20 ซม. ใบมี 2-10 ใบ รูปแถบ ยาว 6-15 ซม. ปลายมีติ่งแหลม
                ยาวประมาณ 1.3 ซม. ปลายแยก 3 แฉกรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 7-9 มม. ดอกสีแดง  คล้ายตะขอ โคนแผ่กว้างเป็นกาบใบ ไร้ก้านหรือก้านยาว 1-2 ซม. กาบใบยาว
                อมส้ม หลอดกลีบดอกยาว 2.5-3 ซม. กลีบรูปใบหอก กลีบข้างยาวประมาณ 4 ซม.   ได้ถึง 4 ซม. ช่อดอกออกระหว่างกาบใบด้านใน ไร้ก้าน กาบดอกยาว 3.5-7 ซม.
                กลีบหลังยาวประมาณ 5 ซม. ปลายรูปคุ่ม โคนเรียวแคบ แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                ด้านข้างสีส้ม รูปใบหอกกลับ ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบปากสีส้ม โคนมีลายสีแดง   มีหรือไม่มีลิ้นใบ ใบประดับรูปแถบ ยาว 3-10 ซม. มีขนครุย ใบประดับย่อยรูปแถบ
                รูปสามเหลี่ยมกว้างคล้ายถุง ยาวกว่าแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ก้านชูอับเรณูสั้น   ยาว 1.5-2 ซม. ดอกสีขาว หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-7 ซม. หลอดกลีบดอกยาว
                อับเรณูยาว 1.5-2.2 ซม. แกนอับเรณูยื่นยาวเป็นสันคล้ายเขา ยาว 1-1.3 ซม.   5.5-14 ซม. กลีบรูปแถบ ยาว 1.5-3 ซม. ปลายมีติ่งแหลม แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก รูปรี ยาว 1.2-1.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดมีเยื่อหุ้มบาง ๆ  รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 1.4-2 ซม. โคนเรียวแคบเป็นก้านกลีบสั้น ๆ
                                                                     กลีบปากแฉกลึก กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 1.7-2 ซม. อับเรณูยาว
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย   3-4 มม. ปลายแกนอับเรณูเป็นสันคล้ายรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยาว 2.5-3 มม. เมล็ดสีขาว
                ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร  (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เปราะหอม, สกุล)


                262






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   262                                                                 3/1/16   5:50 PM
   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286   287