Page 285 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 285
เปล้า สารานุกรมพืชในประเทศไทย เปล้าน้อย
Croton argyratus Blume
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. สิ่งปกคลุมหนาแน่นตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง กลีบเลี้ยง
และผล หูใบยาว 2.5-5 มม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 14-20 ซม. แผ่นใบด้านล่าง
มีขนสั้นสีเงินหนาแน่น ต่อมติดที่โคนใบ ช่อดอกยาว 12-25 ซม. ดอกเพศเมียมี
7-12 ดอก ใบประดับยาว 1-2 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยงยาว
ประมาณ 3 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3.5 มม เกสรเพศผู้ 10-12 อัน
ดอกเพศเมียก้านดอกขยายในผล กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม. ไม่มีกลีบดอก
หรือลดรูปเป็นเกล็ด ก้านเกสรเพศเมียแยกจรดโคน ยอดเกสรเพศเมียยาว 3-4 มม.
ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม.
พบในภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และภาคใต้ของไทย ตั้งแต่นครศรีธรรมราช
ลงไป ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ที่โล่งริมล�าธาร หรือสวนยางพารา ความสูงถึงประมาณ
400 เมตร เปล้าดิน: ไม้พุ่มเตี้ย ดอกเพศผู้อยู่ด้านบน ดอกเพศเมียอยู่ด้านล่าง ออกเดี่ยว ๆ ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันที่โคน
ปลายแยก 2 แฉก ติดทน ผลปลายตัด (ภาพ: วานรนิวาส สกลนคร - RP)
เอกสารอ้างอิง เปล้าทุ่ง
Esser, H.-J. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Croton). In Flora of
Thailand Vol. 8(1): 189-190, 193-195. Croton bonplandianus Baill.
วงศ์ Euphorbiaceae
ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มเตี้ย อาจสูงได้ถึง 1 ม. มีขนสีขาวดูคล้ายเป็นจุดตาม
กิ่งอ่อนและผล หูใบรูปเส้นด้ายขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน ช่วงปลายคล้ายเวียนรอบข้อ
รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-5.5 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบมีขนหรือ
เกลี้ยง ต่อมติดที่โคนเส้นกลางใบ มีเส้นใบออกจากโคนข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว
0.5-1.2 ซม. ช่อดอกยาว 4-12 ซม. ดอกเพศเมียมี 2-7 ดอก ใบประดับยาว
ประมาณ 1 มม. มีต่อมหนึ่งคู่ ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม.
กลีบดอกยาวประมาณ 1.5 มม. เกสรเพศผู้ 13-16 อัน ดอกเพศเมียเกือบไร้ก้าน
กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย
แยกกัน ยอดเกสรยาวประมาณ 2 มม. ผลรูปรี ยาว 6-7 มม. เมล็ดผิวมีตุ่มละเอียด
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน ในไทยพบแทบทุกภาค
แต่ยังไม่รายงานทางภาคเหนือ ขึ้นตามที่โล่ง ความสูงระดับต�่า ๆ
เปล้า: แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นสีเงินหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ก้านดอกเพศเมียขยายในผล
(ภาพ: นราธิวาส; ภาพช่อดอก - MP, ภาพผล - RP) เปล้าน้อย
เปล้าดิน Croton decalvatus Esser
Colobocarpos nanus (Gagnep.) Esser & Welzen ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่ม หูใบยาว 2-4 มม. ใบรูปขอบขนาน
วงศ์ Euphorbiaceae ถึงรูปใบหอก ยาว 12-30 ซม. โคนแหลมมน คล้ายรูปหัวใจตื้น ๆ ขอบจักฟันเลื่อย
ชื่อพ้อง Croton nanus Gagnep., C. colobocarpus Airy Shaw ตื้น ๆ ต่อมติดที่โคนข้างเส้นกลางใบด้านล่าง ก้านใบยาว 0.4-1.6 ซม. ช่อดอกยาว
ได้ถึง 12 ซม. ก้านดอกยาว 2-3.5 มม. ดอกเพศเมียจ�านวนมาก ใบประดับยาว
ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 20 ซม. แยกเพศร่วมต้น หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก 3-5 มม. ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงและกลีบดอกยาวประมาณ 2.5 มม. เกสรเพศผู้มีประมาณ
ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 2-6.5 ซม. ช่วงปลาย 12 อัน ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 4 มม. ไม่มีกลีบดอก ก้านเกสรเพศเมีย
จักฟันเลื่อย ต่อมติดใกล้โคนใบ 1 คู่ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ แยกกัน ยาวประมาณ 4 มม. ยอดเกสรแยก 2 แฉกใกล้โคน ผลรูปรี โค้งเล็กน้อย
2-3 เส้น โค้งจรดกัน ก้านใบยาว 2-3 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ยาว 7-9 มม.
ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 2-2.5 ซม. ใบประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกเพศเมีย
ออกเดี่ยว ๆ ที่โคนช่อ ดอกเพศผู้มีได้ถึง 10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ
2 มม. กลีบดอก 5 กลีบ ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 10-20 อัน ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 100-500 เมตร
โคนมีขนยาว โค้งงอในตาดอก ไม่มีวงเกสรเพศเมียที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยง
รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 มม. ไม่มีกลีบดอก ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยาว เปล้าน้อย
1-2 มม. เชื่อมติดกันที่โคน ปลายแยก 2 แฉก ติดทน ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน Croton stellatopilosus H. Ohba
ผลแห้งแตก รูปรี ปลายตัด ยาว 6-7 มม. มี 3 เมล็ด รูปสามเหลี่ยมมน ๆ ยาว ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 6 ม. แตกกิ่งต�่า มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน หูใบ ดอก ใบอ่อน
ประมาณ 3 มม. ขั้วเมล็ดขนาดเล็ก หูใบยาว 3-4 มม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 6-18 ซม.
พบที่ลาว และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทยที่หนองคาย และสกลนคร โคนเรียวสอบมน ขอบใบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ต่อมติดที่โคนใกล้ก้านใบ ก้านใบยาว
ขึ้นตามที่โล่งชายป่าเต็งรัง ความสูงประมาณ 200 เมตร 0.5-2.5 ซม. ช่อดอกยาว 7-10 ซม. ดอกเพศเมียมี 4-10 ดอก มักบานก่อนหรือ
ติดเป็นผลช่วงดอกเพศผู้บาน ใบประดับยาว 1.5-2 มม. ไม่มีต่อม ดอกเพศผู้
สกุล Colobocarpos Esser & Welzen อยู่ในวงศ์ย่อย Crotonoideae มีชนิดเดียว ก้านดอกยาว 2-6 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2.5 มม.
แยกออกมาจากสกุล Croton ที่กลีบเลี้ยงในดอกเพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าใน เกสรเพศผู้ 10 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 4-6 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ
ดอกเพศผู้ ไม่มีขนรูปดาว เกสรเพศผู้ตั้งตรงในตาดอก และผลปลายตัด ชื่อสกุล 3 มม. ไม่มีกลีบดอก ก้านเกสรเพศเมียแยกกัน ยอดเกสรยาวประมาณ 3 มม.
มาจากภาษากรีก “colobos” ปลายตัด และ “carpos” ผล หมายถึงผลปลายตัด ผลรูปรีกว้าง กว้างประมาณ 6 มม. ยาวประมาณ 5 มม.
เอกสารอ้างอิง พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้
Esser, H.-J. and P.C. van Welzen. (2001). Colobocarpos, a new genus of ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร ใบมีสารเปลาโนทอล มีฤทธิ์
South-East Asian Euphorbiaceae. Kew Bulletin 56: 657-659. สมานแผลในกระเพาะอาหารและล�าไส้ ได้รับการผลิตเป็นยาภายใต้ชื่อ ‘Kelnac’
________. (2005). Euphorbiaceae (Colobocarpos). In Flora of Thailand Vol. 8(1):
188-189. เคยเข้าใจว่าชื่อวิทยาศาสตร์คือ C. sublyratus Kurz ซึ่งพบเฉพาะในเอเชียใต้
265
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 265 3/1/16 5:51 PM