Page 283 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 283
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่ลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตาม เปราะภูเขาใหญ่ เปราะราศี
ทุ่งหญ้าที่เป็นดินทรายหรือที่ชื้นแฉะในป่าเต็งรังหรือป่าดิบแล้งโปร่ง ๆ ความสูง Monolophus saxicola (K. Larsen) Veldkamp & Mood
ไม่เกิน 200 เมตร อนึ่ง K. fallax Gagnep. และ K. fissa Gagnep. น่าจะเป็น วงศ์ Zingiberaceae
ชนิดเดียวกับเปราะใบแคบ (pers. com. - John Mood)
ชื่อพ้อง Caulokaempferia saxicola K. Larsen
เอกสารอ้างอิง ไม้ล้มลุก สูงได้ประมาณ 30 ซม. ใบเรียงเวียน มี 5-7 ใบ รูปใบหอก ยาว 6-13 ซม.
Sirirugsa, P. (1992). Taxonomy of the genus Kaempferia (Zingiberaceae) in
Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 19: 5. ปลายแหลมยาว ขอบใบบาง ไร้ก้าน ใบด้านล่างขนาดเล็ก ลิ้นใบบาง ยาว 2-3 มม.
ช่อดอกออกที่ปลายล�าต้น ใบประดับมี 5-10 ใบ เรียงตรงข้าม 2 แถว ยาว
ประมาณ 3 ซม. ดอกสีเหลือง ส่วนมากมีดอกเดียวในแต่ละใบประดับ กลีบเลี้ยง
เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 7-9 มม. มีขนสั้นนุ่มด้านนอก ปลายจัก 3 แฉกรูป
สามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. หลอดกลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบดอกกลีบข้างขนาด
เท่าๆ กัน รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.7-1 ซม. กลีบกลางกว้างและยาวกว่าเล็กน้อย
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเป็นแผ่นรูปไข่ ยาวเท่า ๆ กลีบดอก กลีบปากคล้ายรูปลิ้น
กว้าง 12-22 ซม. ยาว 1.7-2.7 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูยาวประมาณ
5 มม. ผลแห้งแตก ยาวประมาณ 2.2 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก มีเยื่อหุ้มสีขาว
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก และ
เปราะใบแคบ: ใบรูปแถบ หลอดกลีบดอกเรียวแคบ กลีบดอกสีขาว กลีบปากแฉกลึก (ภาพ: อุบลราชธานี - JM) ปราจีนบุรี โดยเฉพาะบริเวณเขาเขียว ขึ้นเป็นกลุ่มตามโขดหินที่มีมอสหนาแน่น
ใต้ร่มเงาในป่าดิบเขา ความสูง 900-1100 เมตร
เปราะภู
Boesenbergia alba (K. Larsen & R. M. Sm.) Mood & L. M. Prince สกุล Monolophus Wall. ได้รวมเอาพืชสกุล Caulokaempferia และ Jirawongsea
วงศ์ Zingiberaceae บางชนิด และบางชนิดย้ายไปอยู่ภายใต้สกุล Boesenbergia ทำาให้จำานวนชนิด
ในสกุล Monolophus มีประมาณ 25 ชนิด แต่มีหลายชนิดที่อาจถูกรวมให้เป็น
ชื่อพ้อง Caulokaempferia alba K. Larsen & R. M. Sm., C. thailandica K. Larsen,
C. violacea K. Larsen & Triboun, Boesenbergia thailandica (K. Larsen) ชนิดเดียวกันโดยเฉพาะชนิดที่มีดอกสีเหลืองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
Mood & L. M. Prince, B. violacea (K. Larsen & Triboun) Mood & L. M. Prince, ชื่อสกุลหมายถึงสันอับเรณูเป็นแผ่นเดียวและไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก
Jirawongsea alba (K. Larsen & R. M. Sm.) Picheans. เอกสารอ้างอิง
ไม้ล้มลุกแตกกอ สูงได้ถึง 60 ซม. รากอวบหนายาว 1-3 ซม. มี 4-6 ใบ กาบยาว Larsen, K. (1964). Studies in Zingiberaceae IV. Botanisk Tidsskrift Vol. 60(3):
171-175.
ได้ถึง 30 ซม. ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 24 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลม Mood, J.D., J.F. Veldkamp, S. Dey and L.M. Prince. (2014). Nomenclatural
หรือตัด ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกออกระหว่างกาบ ยาวได้ถึง 8 ซม. ใบประดับ changes in Zingiberaceae: Caulokaempferia is a superfluous name for
รูปดาบ ยาว 3-5 ซม. มี 4-6 ดอก ดอกสีขาว อมม่วงหรือชมพู หลอดกลีบดอก Monolophus and Jirawongsea is reduced to Boesenbergia. Gardens’ Bulletin
ยาว 5-6 ซม. กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีแต้มสีเหลืองที่โคน Singapore 66(2): 215-231.
ไม่มีถ้วยรองเกสรเพศผู้ กลีบปากเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. ปลายเว้าตื้น โคนเรียว Picheansoonthon, C., A. Chaiyoot and S. Sukrong. (2008). Jirawongsea, a
แคบเป็นร่อง ยาวประมาณ 1.5 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ ยาวประมาณ new genus of family Zingiberaceae. Folia Malaysiana 9: 1-16.
3.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.2 ซม. สีเหลือง มีขนต่อมกระจาย อับเรณูยาวประมาณ
3 มม. ปลายมีสัน พับลง สีเหลือง เรณูมีเมือก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระชาย, สกุล)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายหนาแน่นทางภาคเหนือที่อุตรดิตถ์ พิษณุโลก
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย เพชรบูรณ์ ขึ้นตามทุ่งหญ้าบนลานหิน ความสูง
1000-1500 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. and R.M. Smith. (1972). Notes on Caulokaempferia. Notes from the
Royal Botanic Garden Edinburgh 31(2): 288-291.
Mood, J.D., J.F. Veldkamp, S. Dey and L.M. Prince. (2014). Nomenclatural
changes in Zingiberaceae: Caulokaempferia is a superfluous name for เปราะภูเขาใหญ่: ขึ้นเป็นกลุ่มหนาแน่น เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเป็นแผ่นรูปไข่ ยาวเท่า ๆ กลีบดอก กลีบปากคล้าย
Monolophus and Jirawongsea is reduced to Boesenbergia. Gardens’ Bulletin รูปลิ้นขนาดใหญ่ (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
Singapore 66(2): 215-231.
เปราะราศี
Kaempferia larsenii Sirirugsa
ไม้ล้มลุก สูง 7-15 ซม. มี 2-4 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปใบหอกหรือรูปแถบ
ยาว 6-10 ซม. ปลายแหลมคล้ายตะขอ โคนรูปลิ่ม แผ่นใบเกลี้ยง มักมีปื้นสีม่วง
ด้านบน ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. กาบใบยาว 3-4 ซม. ลิ้นใบขนาดเล็ก ช่อดอกออก
กลางกลุ่มใบ ไร้ก้าน มีกาบประดับหุ้ม ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 3 ซม. มีประมาณ
8 ดอก บานทีละดอก ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวประมาณ 1.5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยง
ยาวประมาณ 3 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก กลีบดอกสีขาว รูปแถบ ยาวประมาณ
1.4 ซม. หลอดกลีบยาวประมาณ 5.5 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้าง
รูปไข่กลับ สีม่วง ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบปากสีม่วง แยกจรดโคน รูปไข่กลับ
ยาว 1.5-1.7 ซม. โคนมีสีขาว อับเรณูยาวประมาณ 2 มม. ปลายแกนอับเรณูเป็นสัน
รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 3.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2.5 มม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่อุบลราชธานี
เปราะภู: ไม้ล้มลุกแตกกอ ใบเรียงเวียน กาบใบยาว ดอกสีขาว อมม่วงหรือชมพู ปลายกลีบปากเว้าตื้น โคนเรียวแคบ มุกดาหาร ขึ้นตามพื้นที่โล่งตามพื้นทรายในป่าเต็งรัง ความสูง 150-250 เมตร
เป็นร่อง (ภาพ: ภูหลวง เลย; ภาพดอกสีชมพูู - PK, ภาพดอกสีขาวและภาพดอกสีม่วง - JM)
263
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 263 3/1/16 5:50 PM