Page 287 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 287
เปื๋อย สารานุกรมพืชในประเทศไทย เปื๋อยพระราหู
Terminalia pierrei Gagnep.
วงศ์ Combretaceae
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 4-15 ม. เปลือกเรียบหรือเป็นแอ่งตื้น มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาล
หนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ใบประดับ และผล กิ่งมีช่องอากาศ
ต้นเล็กมีกิ่งลดรูปคล้ายหนาม ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม รูปไข่หรือแกม
รูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. มีต่อมหนึ่งคู่ที่ขอบใบใกล้โคน ก้านใบยาว 0.3-1 ซม.
ดอกออกพร้อมผลิใบใหม่ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาว 4-10 ซม. ใบประดับรูปไข่กลับ
ยาวประมาณ 1.5 มม. ร่วงเร็ว หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1-2 มม. ปลายแยก 5 แฉก
รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5-1 มม. มีขนทั้ง 2 ด้าน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน
ยาว 4-8 มม. จานฐานดอกจักมน มีขนหนาแน่น รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย
ยาว 2.5-5 มม. ผลมี 5 ปีก รูปไข่กว้าง ยาว 0.9-1.2 ซม. ปีกกว้าง 3-4 มม. ปลายผล
เปล้าหลวง: ขอบใบจักฟันเลื่อย ใบมีสีส้มก่อนร่วง ช่อดอกมีหลายช่อ ผลรูปกลม (ภาพซ้ายบน: วังน�้าเขียว เป็นติ่ง ยาว 1-2 มม. มีเมล็ดเดียว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สมอ, สกุล)
นครราชสีมา - SR; ภาพซ้ายล่าง: ไทยประจัน ราชบุรี - SSi; ภาพขวา: ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
พบที่ลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai
Forest Bulletin (Botany) 15: 94-96.
เปล้าใหญ่: ขอบใบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ดอกเพศเมียบานก่อนดอกเพศผู้ ก้านดอกและกลีบเลี้ยงหนา กลีบเลี้ยงพับงอ
โคนมีขน (ภาพ: บุรีรัมย์; ภาพซ้าย - PK, ภาพขวา - RP)
เปลือกข้าว
Aporosa arborea (Blume) Müll. Arg.
วงศ์ Phyllanthaceae เปื๋อย: มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลหนาแน่นทั่วไป กิ่งมีช่องอากาศ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน
ชื่อพ้อง Leiocarpus arboreus Blume ผลมี 5 ปีก (ภาพช่อดอก: ภูวัว บึงกาฬ - SSi; ภาพช่อผล: ภูสระดอกบัว มุกดาหาร - PK)
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. มีขนละเอียดหรือขนสั้นนุ่มประปรายตาม เปื๋อยพระราหู
กิ่งอ่อน เส้นแขนงใบด้านล่าง และช่อดอก หูใบร่วงเร็ว ใบรูปขอบขนานหรือ Homalium peninsulare Sleumer
แกมรูปไข่กลับ ยาว 13-35 ซม. ก้านใบยาว 1.5-5.5 ซม. ช่อดอกออกใต้ใบ ตามกิ่ง
และล�าต้น ใบประดับขนาดเล็ก ช่อดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก มีได้ถึง 10 ช่อ วงศ์ Salicaceae
ยาว 1.5-5.5 ซม. ดอกขนาดเล็ก สีเหลือง ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก
เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาว 0.3-0.4 มม. ช่อดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก 1-6 ช่อ ยาว ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7-12 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมนหรือกลม
1-3.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ มีได้ถึง 11 ดอก ก้านดอกยาว 1.5-3 มม. ดอกยาว ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 7-8 มม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ห้อยลง ยาว
2-5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. รังไข่มีขนละเอียด ยอดเกสรยาว 15-20 ซม. ก้านช่อยาว 3-54 ซม. ช่อแขนงยาว 1-5 ซม. ดอกออกเป็นกระจุก
ประมาณ 1.5 มม. แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ผลรูปรี ยาว 1.3-1.7 ซม. เกลี้ยง เรียงเวียนแน่นบนแกนช่อ ก้านดอกสั้น หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม.
เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. มีเยื่อหุ้มบางสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เหมือดขน, สกุล) กลีบเลี้ยงและกลีบดอกคล้ายกัน จ�านวนอย่างละ 9-10 กลีบ รูปขอบขนานแคบ ๆ
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา และภาคใต้ตอนล่างของไทย ยาวประมาณ 2 มม. มีขนครุยละเอียดหนาแน่น เกสรเพศผู้ 5-6 อัน ติดหน้ากลีบดอก
ที่ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ก้านชูอับเรณูสั้น โคนมีขน รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน
ยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขานาง, สกุล)
เอกสารอ้างอิง พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคใต้ที่สุราษฎร์ธานี ขึ้นบนเขาหินปูน
Schot, A.M. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Aporosa). In Flora
of Thailand Vol. 8(1): 84. ความสูง 100-300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 45-47.
Sleumer, H. (1985). The Flacourtiaceae of Thailand. Blumea 30: 221.
เปื๋อยพระราหู: ช่อดอกออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกออกเป็นกระจุกเรียงเวียนแน่นบนแกนช่อ กลีบดอกและ
เปลือกข้าว: ช่อดอกออกเป็นกระจุก ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ผลเกลี้ยง (ภาพ: นราธิวาส - MP) กลีบเลี้ยงคล้ายกัน มีขนครุยหนาแน่น (ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - PK)
267
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 267 3/1/16 5:51 PM