Page 303 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 303
ผักแว่น สารานุกรมพืชในประเทศไทย ผักสี่ทิศขนคาย
Marsilea crenata C. Presl
วงศ์ Marsileaceae
เฟินน�้าล้มลุก สูงได้ถึงประมาณ 20 ซม. เหง้ายาวทอดเลื้อย มีเกล็ดรูปเส้นด้าย
บาง ๆ รากออกตามโคนใบ ใบอ่อนม้วนงอ ใบประกอบมี 4 ใบย่อย ขนาดเท่า ๆ กัน
ติดที่ปลายก้านคล้ายกังหัน รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 0.5-2 ซม. ก้านใบยาว 2-3 ซม.
หรือยาวได้ถึง 15 ซม. ในใบที่อยู่ใต้น�้า สปอโรคาร์ปออกที่โคนก้านใบมีหลายอัน
ก้านยาวประมาณ 5 มม. สปอโรคาร์ปรูปขอบขนาน ยาว 2-5 มม. สีเขียวเปลี่ยน
เป็นสีน�้าตาล ภายในมีสปอร์จ�านวนมาก
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ขึ้นตามหนองน�้าที่โล่ง
ความสูงต�่ากว่า 1000 เมตร ใบกินเป็นผักสด มีสรรพคุณบรรเทาอาการอักเสบ
สกุล Marsilea L. เป็นสกุลที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ Marsileaceae อยู่ภายใต้อันดับ ผักแว่น: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ปลายใบย่อยเว้าลึก กลีบดอกรูปใบพาย ผลรูปทรงกระบอก (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
Marsiliales รวมทั้งวงศ์ Azollaceae และ Salviniaceae มีประมาณ 52 ชนิด ส่วนใหญ่
พบในแอฟริกา และออสเตรเลีย ในไทยมีรายงานชนิดเดียว แต่อาจมีชนิดอื่น
ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เช่น M. minuta L. และ M. quadrifolia L. ซึ่งใน Flora
of China ให้ M. crenata C. Presl เป็นชื่อพ้องของ M. minuta L. ชื่อสกุลตั้ง
ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Luigi Ferdinando Marsili (1658-1730)
เอกสารอ้างอิง
Lin, Y. and D.M. Johnson. (2013). Marsileaceae. In Flora of China Vol. 2-3: 123.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and ผีเสื้อ: ใบย่อยรูปสามเหลี่ยม (ภาพซ้าย: cultivated - MP); โพแดงแคระ: ใบย่อยรูปไข่ (ภาพขวา: cultivated - RP)
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Marsileaceae. In Flora of Thailand Vol. ผักสี่ทิศ, สกุล
3(4): 600-602.
Rubia L.
วงศ์ Rubiaceae
ไม้เถาล้มลุก โคนมีเนื้อไม้ ล�าต้นเป็นสี่เหลี่ยม หูใบและใบเรียงรอบข้อ 2 คู่
ส่วนมากมีขนาดไม่เท่ากัน หรือมี 2 ใบเรียงตรงข้าม มีก้านหรือเกือบไร้ก้าน ช่อดอก
แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงมักฝ่อ ดอกรูปกงล้อ
หรือรูประฆังตื้น ๆ มี 5 กลีบ กลีบรูปสามเหลี่ยม เกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูยื่นพ้น
ปากหลอดกลีบเล็กน้อย ก้านเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ยอดเกสรเป็นตุ่ม รังไข่ใต้วงกลีบ
มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ผลสด มี 2 พู ส่วนมากฝ่อ 1 พู
ผักแว่น: เฟินน�้าล้มลุกทอดเลื้อย ใบประกอบมีใบย่อย 4 ใบ ติดที่ปลายก้านคล้ายกังหัน (ภาพ: ตาพระยา สระแก้ว - TP) สกุล Rubia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rubioideae คล้ายกับสกุล Galium ซึ่งมีผลแห้ง
มีประมาณ 60 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตอบอุ่นทั้งเอเชีย และแอฟริกา ในไทยมี
ผักแว่น 4-5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “ruber” สีแดง เนื่องจากรากให้สีย้อมสีแดง
Oxalis corniculata L.
วงศ์ Oxalidaceae ผักสี่ทิศ
ไม้ล้มลุกเกาะเลื้อย มีรากตามข้อ หูใบขนาดเล็ก ใบประกอบมี 3 ใบย่อย Rubia garrettii Craib
เรียงเวียน ใบย่อยรูปรีแกมรูปหัวใจกลับ กว้าง 0.5-2 ซม. สีเขียวหรือสีม่วงอมแดง ไม้เถาล้มลุก ยาวได้กว่า 4 ม. เกลี้ยง หูใบและใบเรียงรอบข้อ 2 คู่ ขนาดไม่เท่ากัน
ปลายเว้าลึก แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบส่วนมากยาว 1-2 ซม. หรือยาว รูปใบหอกหรือแกมรูปไข่กลับ กว้าง 0.2-1.5 ซม. ยาว 0.6-2 ซม. เส้นกลางใบชัดเจน
ได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ส่วนมากมี 1-5 ดอก ก้านช่อมักยาวกว่าก้านใบ ก้านใบยาวได้ถึง 5 มม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกจ�านวนมาก กลีบเลี้ยงไม่ชัดเจน
ใบประดับมี 1 คู่ รูปใบหอก ยาว 2-4 มม. ก้านดอกยาว 0.4-2 ซม. มีขนหนาแน่น ดอกรูประฆัง สีเขียวอมเหลือง หลอดกลีบสั้น กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกบาน
กลีบเลี้ยง 5 กลีบเรียงซ้อนเหลื่อม รูปใบหอก ติดทน ยาว 3.5-5 มม. ขอบมีขนครุย เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. ผลสุกสีด�าเป็นมันวาว มี 2 พู หรือฝ่อหนึ่งพู แต่ละพู
กลีบดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 0.3-1 ซม. ก้านกลีบสั้น ๆ มี 5 คาร์เพล เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม.
เชื่อมติดกัน ออวุลเรียงเป็นแถว 1-2 แถว ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน ผลแห้งแตก
รูปทรงกระบอก ยาว 0.8-2.5 ซม. มีขน ส่วนผนังติดอยู่กับแกนกลางเมื่อแตก พบทางตอนบนของพม่าและภาคเหนือของไทยที่ดอยอินทนนท์ จังหวัด
แต่ละช่องมี 5-14 เมล็ด มีเยื่อหุ้มที่ดีดเมล็ดออกหลังร่วง (ejaculatory) เชียงใหม่ ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง 2400-2550 เมตร
พบทั่วไปในเขตร้อน ไม่ทราบถิ่นก�าเนิดที่แน่นอน ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึง ผักสี่ทิศขนคาย
ประมาณ 1500 เมตร น�้าสกัดจากใบมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
Rubia crassipes Collett & Hemsl.
สกุล Oxalis L. มีประมาณ 700 ชนิด พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่น โดยเฉพาะ ไม้เถาล้มลุก ยาวได้กว่า 3 ม. มีขนคายทั่วไป หูใบคล้ายใบขนาดเล็กกว่า
อเมริกาใต้และแอฟริกาใต้ มีหลายชนิดเป็นไม้ประดับ เช่น ผีเสื้อ O. triangularis ใบเรียงรอบข้อ 4 ใบ ขนาดเท่า ๆ กัน รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว
A. St.-Hil. ใบย่อยรูปสามเหลี่ยม และโพแดงแคระ O. hedysaroides Kunth 3-9 ซม. ใบตามล�าต้นขนาดเล็กกว่าตามกิ่งที่มีช่อดอก ปลายแหลมหรือมน โคนกลม
ใบย่อยรูปไข่ เป็นต้น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “oxys” กรด เปรี้ยว หมายถึง หรือรูปหัวใจ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.5-1.8 ซม. หรือไร้ก้านในใบขนาดเล็ก
พืชที่ต้นและใบมีรสเปรี้ยว เส้นโคนใบรูปฝ่ามือ 3 หรือ 5 เส้น ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ยาว
เอกสารอ้างอิง 3-7 ซม. แกนช่อหนา ใบประดับย่อยรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 2.5-3.5 มม. ดอกสีครีม
Liu, Q. and M. Watson. (2008). Oxalidaceae. In Flora of China Vol. 11: 2. อมเขียว รูปสามเหลี่ยม ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 มม. ผลสุกสีด�า มี 2 พู
Veldkamp, J.F. (1970). Oxalidaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 16-17. หรือฝ่อหนึ่งพู แต่ละพูเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม.
283
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 283 3/1/16 5:56 PM