Page 332 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 332
พู่อมร
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Vietnamosasa T. Q. Nguyen อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Bambusoideae แยกมา
จากสกุล Arundinaria มี 3 ชนิด พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยมี 2 ชนิด อีก
ชนิดคือ โจด V. ciliata (A. Camus) T. Q. Nguyen ขนาดใหญ่กว่าเพ็ก ยอดอ่อน
มีสีม่วง ชื่อสกุลมาจากลักษณะที่คล้ายไผ่สกุล Sasa และประเทศเวียดนาม
เอกสารอ้างอิง
Clayton, W.D., M.S. Vorontsova, K.T. Harman and H. Williamson. (2006 on-
wards). GrassBase-The Online World Grass Flora. http://www.kew.org/
data/grasses-db.html
Dransfield, S. (2000). Notes on “Pek” and “Chote”, members of the genus
Vietnamosasa (Poaceae-Bambusoideae) in Thailand. Thai Forest Bulletin
พูสลักแดง: ช่อดอกแบบช่อเชิงลดแยกแขนง ดอกเพศผู้อยู่ด้ำนบน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ อยู่ด้ำนล่ำง ก้ำนใบยำว
กลีบเลี้ยงสีม่วงแดง ขยำยในผล ผลมี 3 พู (ภำพ: เบตง ยะลำ - RP) (Botany) 28: 163-176.
พู่อมร
Combretum constrictum (Benth.) M. A. Lawson
วงศ์ Combretaceae
ชื่อพ้อง Poivrea constricta Benth.
ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบรูปรี รูปขอบขนำน หรือแกมรูปไข่กลับ ยำว 5-13 ซม. โคนกลม
แผ่นใบค่อนข้ำงหนำ ขอบม้วนงอ ก้ำนใบยำวประมำณ 5 มม. ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด
ยำว 3-8 ซม. ดอกสีแดง ฐำนดอกยำวประมำณ 5 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยำวได้ถึง
1.5 ซม. คอดช่วงปลาย ปลำยแยกเป็น 5 กลีบรูปสำมเหลี่ยม ยำวประมำณ 4 มม. เพ็ก: ไผ่ขนำดเล็ก แตกกิ่งจ�ำนวนมำก (ภำพ: ผำแต้ม อุบลรำชธำนี - PT)
กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนำน ยำวประมำณ 7 มม. มีก้ำนกลีบ มีขนยำว เกสรเพศผู้
10 อัน เรียง 2 วง ก้ำนชูอับเรณูยำวได้ถึง 2.5 ซม. ก้ำนเกสรเพศเมียยำวเท่ำ ๆ
ก้ำนชูอับเรณู ผลแห้งไม่แตกรูปรี มีห้าเหลี่ยม ยำวประมำณ 2.5 ซม. ไร้ก้าน (ดู
ข้อมูลเพิ่มเติมที่ สะแกนำ, สกุล)
มีถิ่นก�ำเนิดในแอฟริกำ เป็นไม้ประดับ ในธรรมชำติพบตำมที่น�้ำทะเลท่วมถึง
เอกสารอ้างอิง
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
โจด: แตกกอหนำแน่น ช่อดอกออกตำมต้นที่ไม่มีใบ (ภำพซ้ำย: ชัยภูมิ, ภำพขวำ: ผำแต้ม อุบลรำชธำนี; - MP)
เพกา
Oroxylum indicum (L.) Kurz
วงศ์ Bignoniaceae
ชื่อพ้อง Bignonia indica L.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบประกอบ 2-4 ชั้น เรียงตรงข้าม ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง
ยำว 60-170 ซม. รวมก้ำน ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนำน ยำว 5-13 ซม.
พู่อมร: ช่อดอกคล้ำยช่อเชิงลด หลอดกลีบเลี้ยงคอดปลำย เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง ผลแห้งไม่แตกรูปรี ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้ำนใบยำวประมำณ 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
มีห้ำเหลี่ยม ไร้ก้ำน (ภำพ: cultivated - RP) ยำวได้ถึง 1.5 ม. ดอกเรียงแน่นที่ปลายช่อ ก้ำนดอกยำว 2-7 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง
เพ็ก ยำว 2-4 ซม. ขอบเกือบเรียบ ติดทน ดอกรูปแตร หนำ สีม่วงอมน�้ำตำลแดง ด้ำนใน
สีครีม โคนมีปื้นสีน�้ำตำลแดง หลอดกลีบดอกช่วงโคนยำวประมำณ 1.5 ซม. ช่วงกว้ำง
Vietnamosasa pusilla (A. Chev. & A. Camus) T. Q. Nguyen ยำว 6-9 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่ำง 3 กลีบ พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติด
วงศ์ Poaceae ประมำณกึ่งกลำงหลอดกลีบดอก จุดติดมีขน อับเรณูยำวประมำณ 1 ซม. โคนกำงออก
ชื่อพ้อง Arundinaria pusilla A. Chev. & A. Camus จำนฐำนดอกจัก 5 พู ก้ำนเกสรเพศเมียยำวกว่ำเกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 2 พูตื้น ๆ
ไผ่ขนำดเล็ก เหง้าแยกแขนง ล�ำต้นสูง 50-150 ซม. เส้นผ่ำนศูนย์กลำงไม่เกิน ยำวประมำณ 7 มม. ผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปแถบ แบน ยำว 40-120 ซม.
เปลือกหนำ เมล็ดกลม มีปีกบำง ๆ ยำว 6-7 ซม.
1 ซม. แตกกิ่งจ�ำนวนมำก ไม่มีหนำม กำบรูปสำมเหลี่ยม ยำว 3-5 ซม. ขอบกำบใบ
และลิ้นกำบมีขน ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยำว 8-14 ซม. แผ่นใบเหนียว ปลำย พบที่อินเดีย เนปำล ศรีลังกำ จีนตอนใต้ พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีนและมำเลเซีย
เรียวแหลม โคนคล้ำยก้ำนใบเรียวจรดกำบ เส้นแขนงใบ 6-8 เส้น เรียงขนำนกัน ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภำค ขึ้นตำมชำยป่ำ ควำมสูงถึงประมำณ 1200 เมตร
มีเส้นตามขวางชัดเจน แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้ำน ขอบมีขนสำก ช่อดอกแบบ หรือพบปลูกตำมบ้ำนเรือน ดอกบำนกลำงคืน กลิ่นแรง ยอดอ่อน ดอก และฝักอ่อน
ช่อแยกแขนง ออกเป็นกระจุกตามต้นที่ไม่มีใบ รูปใบหอก โคนมีกำบ แกนช่อมี กินได้ มีสรรพคุณด้ำนสมุนไพรหลำยอย่ำงโดยเฉพำะรำกและเปลือก
ขนสั้นนุ่ม ช่อดอกย่อยไม่หนำแน่น ออกเดี่ยว ๆ รูปแถบ แบน ๆ ยำว 3-4 ซม. สกุล Oroxylum Vent. เป็นสกุลที่มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
กำบช่อรูปไข่ ยำว 0.7-1 ซม. ไม่มีสันกำบ ติดทน สั้นกว่ำช่อดอก กำบช่อล่ำงแต่ละช่อ “oros” ภูเขา และ “xylon” ไม้ หมายถึงต้นไม้ที่ใบหนาแน่นที่ยอดคล้ายภูเขา
มี 7-9 ดอกย่อย กำบดอกรูปไข่ ยำว 0.8-1.4 ซม. มีเส้นกำบจ�ำนวนมำก กลีบดอก
3 กลีบ ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 6 อัน อับเรณูสีม่วง ยำว 6-7 มม. กำบดอก เอกสารอ้างอิง
กำบล่ำง มีเส้นกำบ 7 เส้น ผลแบบผลแห้ง ไม่มีรยำงค์ Harminder, V.S. and A.K. Chaudhary. (2011). A review on the Taxonomy,
Ethnobotany, Chemistry and Pharmacology of Oroxylum indicum Vent.
พบในภูมิภำคอินโดจีน ในไทยส่วนมำกพบทำงภำคตะวันออก และภำคตะวันออก Indian Journal of Pharmaceutical Science 73(5): 483–490. doi:
10.4103/0250-474X.98981
เฉียงเหนือ ขึ้นหนำแน่นตำมที่โล่ง โดยเฉพำะในป่ำเต็งรังที่เป็นดินทรำย ควำมสูง Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 36-37.
ระดับต�่ำ ๆ Zhang, Z.Y. and T. Santisuk. (1998). Bignoniaceae. In Flora of China Vol. 18: 215.
312
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 312 3/1/16 6:09 PM