Page 334 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 334
โพกริ่ง โพกริ่ง สารานุกรมพืชในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. In
Hernandia nymphaeifolia (C. Presl) Kubitzki Flora of Thailand Vol. 10(4): 638.
วงศ์ Hernandiaceae
ชื่อพ้อง Biasolettia nymphaeifolia C. Presl
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกเรียบ ใบรูปไข่กว้ำงหรือรูปหัวใจ ยำว 70-40 ซม.
เส้นโคนใบ 5-9 เส้น ปลำยแหลมหรือแหลมยำว โคนใบแบบก้นปิด ก้ำนใบยำว
0.5-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตำมซอกใบ ก้ำนช่อยำว 6-20 ซม. ช่อแขนง
แบบช่อวงแถวเดี่ยว ช่อย่อยแบบช่อเชิงหลั่น วงใบประดับมี 4 ใบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ
ยำว 2-6 มม. แต่ละวงมี 3 ดอก ดอกคู่ข้างเป็นดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 4-4.5 มม.
กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง ยำวประมำณ 5 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้ำนชูอับเรณู
ยำวประมำณ 3 มม. โคนมีต่อม 2 ต่อม อับเรณูสีเหลือง ดอกกลางเพศเมีย ไร้ก้าน
กลีบรวม 8 กลีบ เรียง 2 วง ยำวประมำณ 5 มม. รังไข่มีกาบรูปถ้วย ขยายในผล
ก้ำนเกสรเพศเมียยำวประมำณ 3 มม. มีปุ่มกระจำย โคนมีต่อมประมาณ 4 ต่อม
ยอดเกสรบานออกรูปถ้วย สีชมพู ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยำว 2.5-3 ซม. มีริ้ว 8 ริ้ว
ตำมยำว กำบรูปถ้วยหุ้มหลวม ๆ ปลายผลมีติ่งแผ่กว้างประมาณ 1 ซม. มีเมล็ดเดียว
โพขี้นก: โคนใบรูปลิ่มกว้ำงหรือตัด เส้นแขนงเรียงจรดกัน ปลำยใบยำวคล้ำยหำง fig ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ไร้ก้ำน
พบที่แอฟริกำ ศรีลังกำ ไห่หนำน ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชำ เวียดนำม ภูมิภำคมำเลเชีย (ภำพ: ทองผำภูมิ กำญจนบุรี - RP)
ฟิลิปปินส์ และหมู่เกำะแปซิฟิก ในไทยพบทำงภำคใต้ตำมหมู่เกำะฝั่งทะเลอันดำมัน
แถบจังหวัดกระบี่ และพังงำ ขึ้นตำมชำยหำดและริมฝั่งทะเล รำกมีสรรพคุณแก้พิษ โพทะเล, สกุล
จำกสัตว์ทะเล Thespesia Sol. ex Corrêa
วงศ์ Malvaceae
สกุล Hernandia L. มีประมาณ 25 ชนิด พบในอเมริกากลาง แอฟริกา เอเชีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสเปน ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สิ่งปกคลุมเป็นเกล็ดหรือขนรูปดำว หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน
Francisco Hernández (1517-1587) แผ่นใบส่วนมากมีต่อมด้านล่าง ดอกขนำดใหญ่ ส่วนมำกออกเดี่ยวๆ ตำมซอกใบ
ริ้วประดับ 3-5 อัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ขอบเกือบเรียบหรือหยักเป็นติ่งแหลม 5 ติ่ง
เอกสารอ้างอิง ดอกรูประฆัง มี 5 กลีบ ส่วนมากมีแต้มสีเข้มที่โคน เกสรเพศผู้ติดตลอดความยาว
Duyfjes, B.E.E. (2010). Hernandiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(2): 201-202.
Li, X.W., J. Li and B.E.E. Duyfjes. (2008). Hernandiaceae. In Flora of China หลอดเกสร ไม่ยื่นพ้นปำกหลอดกลีบดอก รังไข่มี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลจ�ำนวนมำก
Vol. 7: 255. ก้านเกสรเพศเมียเป็นแท่ง มี 5 ริ้ว ยอดเกสรคล้ายกระบอง มี 3-5 ร่อง ผลแห้งแตก
หรือไม่แตก ผนังหนำ เมล็ดรูปไข่กลับ เกลี้ยงหรือมีขน
สกุล Thespesia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Malvoideae มี 15-17 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน
ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ปอลมปม T. lampas (Cav.) Dalzell & A. Gibson
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “thespesios” เกี่ยวกับสวรรค์หรือพระเจ้า หมายถึง
ต้นโพทะเลมักพบปลูกตามวัด
โพทะเล
Thespesia populnea (L.) Sol. ex Corrêa
ชื่อพ้อง Hibiscus populneus L.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 2-15 ม. มีเกล็ดรูปโล่ตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก
ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปใบหอก ยำวได้ถึง 1 ซม. ใบรูปไข่หรือรูปหัวใจ
ยำว 7-23 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง โคนตัดหรือรูปหัวใจ เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น
โพกริ่ง: โคนใบรูปก้นปิด ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อเชิงหลั่น วงใบประดับมี 4 ใบ แต่ละวงมี 3 ดอก เส้นแขนงใบข้ำงละ 3-5 เส้น ก้ำนใบยำว 3-11 ซม. ใบประดับคล้ายเกล็ด 2 อัน
ดอกคู่ข้ำงเป็นดอกเพศผู้ มีก้ำนดอก ดอกกลำงเพศเมีย ไร้ก้ำน กลีบรวม 8 กลีบ เรียง 2 วง โคนก้ำนเกสรเพศเมียมีต่อม ติดที่โคนก้านดอก ก้ำนดอกยำว 1-8 ซม. ริ้วประดับรูปเส้นด้าย ยำว 0.8-1.5 ซม.
4 ต่อม ยอดเกสรบำนออกรูปถ้วย ผลมีกำบรูปถ้วยหุ้มหลวม ๆ ปลำยผลมีติ่งแผ่กว้ำง (ภำพ: เกำะสุรินทร์ พังงำ - SSi)
หลอดกลีบเลี้ยงกว้ำง 1.2-2.5 ซม. ติดทน ดอกสีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีม่วงอมแดง
โพขี้นก เปลี่ยนเป็นสีแดงชมพูก่อนร่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ เบี้ยว ยำว 5-7 ซม. ด้ำนนอก
Ficus rumphii Blume มีขนละเอียดสีน�้ำตำลแดง หลอดเกสรเพศผู้ยำว 2-2.5 ซม. ก้ำนชูอับเรณูยำว 2-5 มม.
อับเรณูรูปคล้ำยไต ยอดเกสรเพศเมียยำว 0.5-1 ซม. ผลแห้งไม่แตก กลม
วงศ์ Moraceae เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 2.5-4 ซม. มี 5 สัน มีน�้ำยำงสีเหลือง ก้ำนผลยำว 2-8 ซม.
ไทรขึ้นบนดินหรือเกำะพันต้นไม้อื่น ผลัดใบ สูงได้ถึง 20 ม. หูใบยำว 1-3.5 ซม. แต่ละช่องมี 4 เมล็ด รูปสำมเหลี่ยม ยำว 0.8-1.5 ซม. โคนมีขนสีน�้าตาลคล้ายไหม
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยำว 3-16 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง โคนรูป พบในแอฟริกำ อินเดีย ศรีลังกำ จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่ำ กัมพูชำ เวียดนำม ภูมิภำค
ลิ่มกว้ำง ตัด หรือเว้ำตื้น เส้นแขนงใบข้ำงละ 6-8 เส้น เรียงจรดกัน มีต่อมไขที่ มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ และหมู่เกำะแปซิฟิก ขึ้นตำมชำยฝั่งทะเล และเป็นไม้ประดับ
โคนเส้นกลางใบ ก้ำนใบยำว 2.5-9 ซม. ดอกเพศผู้มีน้อยกว่ำดอกเพศเมีย กลีบรวม ดอก ผล และใบอ่อนกินได้ เนื้อไม้แข็งทนปลวก สีแดงเข้ม ใช้ท�ำเป็นภำชนะใส่อำหำร
สีแดงอยู่ภำยในฐำนดอกที่ขยำยใหญ่และอวบน�้ำ ออกเป็นคู่หรือเดี่ยว ๆ ตาม เนื่องจำกไม่มีกลิ่น
ซอกใบหรือตามกิ่ง ใบประดับขนำดเล็กที่โคน 2-3 ใบ ยำว 1-2 มม. รูปกลม ๆ
เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1.5-2 ซม. สีชมพูหรืออมม่วง สุกสีด�ำ รูเปิดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง เอกสารอ้างอิง
2-2.5 มม. ด้านในไม่มีขน ไร้ก้ำน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล) International Center for Research Agroforestry (ICRAF). Thespesia populnea.
AgroForestryTree Database. http://www.worldagroforestry.org/resources/
พบที่ปำกีสถำน อินเดีย เนปำล ภูฏำน บังกลำเทศ พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีนและ databases/agroforestree
มำเลเซีย ในไทยพบทุกภำค ขึ้นตำมป่ำเบญจพรรณ ป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ 12: 295-296.
314
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 314 3/1/16 6:09 PM