Page 17 - หลักโภชนา
P. 17

๑๐




                       วิตามินบี มีหลายชนิด ดังตอไปนี้
                       วิตามินบี ๑ มีมากในเนื้อหมู ขาวกลอง เห็ดฟาง ฯลฯ มีหนาที่เกี่ยวกับการใชคารโบไฮเดรต

              การทํางานของหัวใจ หลอดอาหารและระบบประสาท
                       วิตามินบี ๒ พบมากในตับ ยีสต ไข นม เนย เนื้อ ถั่ว และผักใบเขียว ปลาและผลไมจําพวก

              สมแทบไมมีวิตามินบี ๒ เลย และถึงแมจะทานวิตามินบี ๒ มากเกินไป ก็ไมมีผลเสียตอรางกาย
              เพราะสามารถถูกขับถายออกมาได วิตามินบี ๒ มีความสําคัญตอรางกาย ไดแก มีความเกี่ยวของกับ

              การเผาผลาญไขมันที่เรียกกันในทางวิทยาศาสตรวา ลิพิด ใชในการเผาผลาญกรดอะมิโนทริปโตเฟน
              กรดนี้มีความจําเปนตอการเจริญเติบโตของทารก และมีความจําเปนตอการเกิดสมดุลของไนโตรเจน

              ในรางกาย เปนสวนประกอบสําคัญของสีที่เรตินาของลูกตา ซึ่งชวยใหสายตาปรับตัวในแสงสวาง
              อาการที่เกิดจากการขาดวิตามินบี ๒ คือ เหนื่อยงาย เบื่ออาหาร มีอาการทางประสาท การยอย

              อาหารไมปกติ ถาเปนมากๆ ปาก และลิ้นอาจแตก
                       วิตามินบี ๓ บางทีเรียกวา ไนอะซิน ประวัติของไนอะซินเริ่มมาจากการที่ประเทศอังกฤษ
              เกิดโรคที่เรียกวา เพลากรา (Pellagra) อาการของโรคนี้คือ เปนโรคผิวหนัง ตอมามีอาการทองเดิน

              ในที่สุดก็จะมีอาการทางประสาทถึงขั้นเสียสติและตายไปในที่สุด ซึ่งในสมัยโบราณโรคนี้ไมมีทางหายได
              ตอมานักวิทยาศาสตรชาวอเมริกันชื่อ โกลเบอรเกอร (Goldberger) ผูเชี่ยวชาญทางดานแบคทีเรีย

              ไดวิจัยโรคนี้ ซึ่งเขาไดสังเกตเห็นวา ผูที่ปวยโรคนี้สวนมากจะเปนผูที่มีฐานะยากจนที่ไมสามารถ
              กินอาหารจําพวกเนื้อ นม ไข ไดเขาจึงสรุปผลออกมาวา โรคนี้เกิดจากการที่ขาดสารอาหาร ตอมา

              เขาทําการทดลองใหอาสาสมัครกินอาหารประเภทเดียวกันกับผูปวยที่เปนโรคเพลากรา และเมื่อ
              อาสาสมัครเหลานั้นเปนโรคแลว เขาก็ทําใหหายโดยใหกินเนื้อสัตว นม และยีสต เมื่อผลเปนเชนนี้

              ผูคนจึงยอมรับวา ยังมีวิตามินบีอีกชนิดหนึ่งอยูในอาหาร ภายหลังเรียกวิตามินนี้วา ไนอะซิน สามารถ
              รักษาโรคเพลากราใหหายได โดยไนอะซินมีมากในตับและไต ซึ่งหนาที่ของไนอะซินจะชวยในการ

              เผาผลาญคารโบไฮเดรต นําไปใชกับวิตามินชนิดอื่นๆ เชน วิตามินซี รักษาโรคชิโซฟรีเนีย สามารถใช
              ในการรักษาโรคปวดศีรษะแบบไมเกรนไดผล ความตองการไนอะซินในชีวิตประจําวัน ควรไดรับวันละ

              ๒๐ มิลลิกรัม การไดรับไนอะซินมากเกินไปไมมีผลเสียตอรางกาย เพราะสามารถขับถายออกมาได
              อาหารที่มีไนอะซินไดแก ไก ยีสต ถั่ว ตับ ไต หัวใจ

                       วิตามินบี ๖ ชื่อทางเคมีวา ไพริดอกซิน (Pyridoxin) ความสําคัญของวิตามินบี ๖ มีดังนี้ คือ
              ใชในการผาผลาญกรดอะมิโนทริปโตเฟนในรางกาย หากขาดจะเปนโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันไดงาย

              เพราะวิตามินบี ๖ จะชวยในการเผาผลาญคอเลสเตอรอลอยางมีประสิทธิภาพ ชวยในการเผาผลาญ
              โปรตีน ผูที่มักขาดวิตามินบี ๖ ไดแก สตรีที่กินยาคุมกําเนิด สตรีที่อยูในชวงของการมีประจําเดือน

              และหญิงมีครรภ อาหารที่มีวิตามินบี ๖ ไก ยีสต ถั่ว ตับ ปลา ไก กลวย ขาวแดง ฯลฯ
                       วิตามินบี ๑๒ มีอยูในอาหารจากสัตว เชน ตับ (มีวิตามินบี ๑๒ มากที่สุด) นม ไข เนย

              วิตามินนี้มีอยูในพืชนอยมาก ความสําคัญของวิตามินบี ๑๒ คือ มีสวนสําคัญในการสรางเม็ดเลือดแดง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22