Page 19 - หลักโภชนา
P. 19

๑๒




              มีดังนี้ มีการทํางานสัมพันธกันกับวิตามินอี ซึ่งมีผลในการปองกันโรคหัวใจ เปนองคประกอบของเอนไซม
              ชนิดหนึ่งชื่อวา ซีลีโนโปรตีน เอนไซมนี้ปองกันไมใหสารชื่อวา ฟรีแรดิกัล เกิดขึ้นในรางกายมนุษย

              ชวยลดการแพเคมีภัณฑตางๆ ได ชวยลดการแพมลพิษจากอากาศ ชวยปองกันโรคมะเร็งหลอดอาหาร
                       สังกะสี เปนธาตุที่เราตองรับเปนประจําในปริมาณที่นอยมาก เพราะถามากเกินไปก็จะ

              กอใหเกิดอันตราย และรางกายขาดสังกะสี จะทําใหเจริญเติบโตชา ขนรวง เปนโรคตาบอดสี (เรตินา
              ในตาของคนจะมีสังกะสีอยูในปริมาณสูง) อาหารที่มีสังกะสีมาก ไดแก ตับ ขาวสาลี ขาวโพด ถั่ว

              หอยนางรม สังกะสี นั้นมีความสําคัญในการเผาผลาญคารโบไฮเดรตและโปรตีนเปนสวนประกอบของ
              เอนไซมอินซูลิน ซึ่งชวยในการเผาผลาญนํ้าตาลที่เรากินเขาไป ชวยเพิ่มใหรูสึกวาอาหารหวานยิ่งขึ้น

              ทําใหคนกินหวานนอยลง นอกจากนี้ยังมีสวนชวยบํารุงรักษาผิวหนัง และสิวฝา
                       โครเมียม รางกายตองการนอยมาก ถาไดรับมากเกินไปก็จะเกิดอันตราย อาหารที่มี

              โครเมียมมาก ไดแก ไขแดง ตับ หอย มันเทศ ยีสตหมักเหลา ประโยชนของโครเมียม ไดแก
              ชวยในการเผาผลาญนํ้าตาล และชวยปองกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน



              การเลือกอาหารใหเหมาะสมกับเพศและวัย

                       อาหารในแตละมื้อควรมีสารอาหารครบทั้ง ๕ ประเภท มนุษยทุกคนตองการอาหารและ
              สารอาหารในแตละวัยแตกตางกันไป เราจึงควรบริโภคอาหารใหเหมาะสมกับวัย ในการบริโภคอาหาร
              อยางมีสัดสวน อาหารในแตละมื้อควรมีสารอาหารครบทั้ง ๕ ประเภท เพื่อการกินดีมีสุข คือ

              ประกอบดวยสารอาหารดังตอไปนี้ อาหารที่มีสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรตและไขมัน จะให
              พลังงานและความอบอุน อาหารที่มีสารอาหารประเภทโปรตีนจะชวยสรางเสริมและซอมแซมสวนที่

              สึกหรอ อาหารที่มีสารอาหารประเภทเกลือแร และวิตามิน จะชวยควบคุมการทํางานของรางกาย
              ใหเปนปกติ ดังนั้นความตองการสารอาหารมนุษยทุกคนตองการอาหารหรือสารอาหารในจํานวนที่

              เพียงพอตอความตองการของรางกาย ซึ่งในแตละวัยก็มีความตองการสารอาหารที่ตางกันไป
                       ๑. วัยทารก (แรกเกิด - ๑ ป) อาหารหลักคือ นํ้านม นมแมเปนอาหารที่ดีและเหมาะที่สุด

              สําหรับทารกนอกจากนมแมแลว ทารกยังจําเปนตองไดรับอาหารเสริมที่เหมาะสมตามวัย
                       ๒. เด็กวัยกอนเรียน (๒ - ๕ ป) เด็กวัยนี้ตองการอาหารเชนเดียวกับทารกในระยะ ๑ ปแรก

              แตตองการปริมาณมากขึ้น เพราะมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตและเสริมสรางพัฒนาการ
                       ๓. เด็กวัยเรียน (๖ - ๑๓ ป) เปนวัยที่รางกายกําลังเจริญเติบโตชา ๆ แตสมํ่าเสมอ

              การที่เจริญเติบโตอยางสมบูรณไดเด็กตองไดอาหารถูกตองตามหลักโภชนาการในปริมาณที่เหมาะสม
              และเพียงพอกับความตองการของรางกาย ปญหาโภชนาการของเด็กวัยนี้คือไดรับอาหารโปรตีน

              และแคลอรีไมเพียงพอกับความตองการของรางกาย ทําใหมีนํ้าหนักตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานกลายเปน
              โรคขาดสารอาหาร หรือไดรับมากเกินไปทําใหภาวะโภชนาการเกินหรือเปนโรคอวน ซึ่งอาจเกิด

              โรคแทรกซอน ไดแก โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ความดันโลหิตสูง ไขขออักเสบ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24