Page 18 - หลักโภชนา
P. 18

๑๑




                 และการทํางานของระบบประสาท ชวยสรางกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ซึ่งเปนพื้นฐานของกรรมพันธุ
                 มีสวนชวยในการเผาผลาญคารโบไฮเดรตชวยใหรางกายนําไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ไปใชได

                 อยางสมบูรณ นอกจากนี้ยังชวยในการเจริญเติบโตของเด็ก คือ มีความตานทานตอโรค มีนํ้าหนัก
                 และสวนสูงมากกวาปกติ

                          วิตามินซีหรือกรดแอสคอรบิก ชวยในการปองกันจากโรคหวัด สามารถลดระดับของ
                 ซีรัมคอเลสเตอรอล ชวยเพิ่มภูมิคุมกัน ชวยใหรางกายกระปรี้กระเปรา ชวยเพิ่มภูมิคุมกันตอโรคหัด

                 คางทูมและโพลีโอไวรัส หากไดรับวิตามินซีในปริมาณสูงจะชวยเพิ่มความตานทานตอเซลลมะเร็ง และ
                 สามารถทําลายเซลลมะเร็งแบบ melanoma ได มีผลใหสามารถยืดอายุของผูปวยที่เปนโรคมะเร็งได

                          วิตามินอี ไดมาจากพืชในธรรมชาติ ประโยชนของวิตามินอีมีมากมาย ไดแก การชวยลด
                 ปริมาณคอเลสเตอรอลที่คางอยูในหลอดเลือดในมนุษยและสัตว ชวยบําบัดโรคหัวใจชวยในการ

                 ปองกันอันตรายจากโอโซนในบรรยากาศ รักษาโรคเลือดออกใตผิวหนัง
                          ๕. เกลือแร รางกายประกอบไปดวยเกลือแร ๔% ของนํ้าหนักรางกายทั้งหมด เกลือแรที่
                 รางกายตองการนั้นมีมากมาย ไดแก

                          แคลเซียม เปนสวนประกอบสําคัญของกระดูกและฟน ชวยควบคุมการทํางานของ
                 ระบบประสาทและกลามเนื้อ และหัวใจ เปนธาตุที่จําเปนในการแข็งตัวของเลือด มีอยูมากในนม

                 และเนื้อสัตวประเภทที่กินไดทั้งกระดูก เชน กุงแหง ปลาเล็กปลานอย หญิงมีครรภ หญิงใหนมบุตร
                 และทารกที่กําลังเจริญเติบโตไปจนถึงวัยรุนควรกินแคลเซียมมากกวาปกติ

                          เหล็ก เปนตัวนําออกซิเจนไปยังสวนตางๆ ของรางกาย เปนสวนประกอบของเม็ดเลือดแดง
                 ในสวนที่เรียกวา ฮีโมโกลบิน ซึ่งเปนตัวพาออกซิเจนไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย และพาคารบอนไดออกไซด

                 กลับไปยังปอดเพื่อขับถายออกในรูปการหายใจ ในประเทศรอน เมื่อเหงื่อออกมาก อาจมีการสูญเสีย
                 เหล็กออกไปกับเหงื่อได อาหารที่มีเหล็กมากไดแก เครื่องในสัตว ถั่วเมล็ด ผักใบเขียวบางชนิด

                          ไอโอดีน สวนใหญไอโอดีนจะอยูในตอมไทรอยด ซึ่งอยูที่คอสวนลาง ตอมไทรอยด
                 เปนตอมไรทอ มีหนาที่สังเคราะหฮอรโมนไทรอกซิน ถาหากรางกายมีการขาดไอโอดีนตั้งแตเด็ก

                 จะทําใหเปนโรคเออ รางกายแคระแกร็น และเปนโรคคอพอก อาหารที่มีไอโอดีนไดแก อาหารทะเล
                 และเกลืออนามัย วัยรุน หญิงมีครรภ และหญิงใหนมบุตรตองการไอโอดีนสูง

                          แมกนีเซียม มีมากในอาหารหลายชนิด เชน ถั่ว ขาวแดง ขาววีท ขาวบารเลย ขาวโพด
                 ผักใบเขียว (หากหุงตมนานเกินไปจะทําใหแมกนีเซียมหลุดออกไปหมด) แมกนีเซียมมีประโยชนดังนี้

                 ทํางานรวมกับแคลเซียม หากรางกายขาดแมกนีเซียมฟนจะไมแข็งแรง การที่รางกายมีแมกนีเซียมตํ่า
                 จะทําใหความดันโลหิตสูง และเปนโรคหัวใจ ผูใหญจะตองการแมกนีเซียมประมาณ ๓๐๐-๔๐๐ มิลลิกรัม

                 ตอวัน
                          ซีลีเนียม เปนธาตุที่มีสมบัติเหมือนกํามะถัน รางกายตองการซีลีเนียมนอยมาก หากไดรับ

                 มากเกินไปจะเปนอันตราย อาหารที่มีซีลีเนียมมาก ไดแก ขาวสาลี ตับ ไต ปลาทูนา ประโยชนของซีลีเนียม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23