Page 24 - หลักโภชนา
P. 24

๑๗




                                                        บทที่ ๓


                                        โภชนาการกับการออกกําลังกาย




                 วัตถุประสงคการเรียนรูประจําบท

                          ๑.  นักเรียนนายสิบตํารวจเขาใจหลักโภชนาการกับการออกกําลังกาย
                          ๒.  นักเรียนนายสิบตํารวจเรียนรูการคํานวณพลังงาน ความตองการสารอาหารของรางกาย
                 เพื่อการออกกําลังกายและเลนกีฬา

                          ๓.  นักเรียนนายสิบตํารวจสามารถประยุกตความรูที่ไดรับ  ไปใชในชีวิตประจําวัน
                 สําหรับการออกกําลังกายและเลนกีฬา



                 บทนํา

                          ผูที่ออกกําลังกายและเลนกีฬาหากมีความรูความเขาใจและปฏิบัติไดถูกหลักโภชนาการ
                 จะทําใหมีภาวะโภชนาการที่ดี มีสมรรถภาพทางกายที่ดีในการออกกําลังกายและเลนกีฬา การบริโภค

                 อาหารไดหลากหลายชนิดจะทําใหไดรับสารอาหารเพียงพอตามความตองการของรางกาย สารโปรตีน
                 จําเปนสําหรับการเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอและเสริมสรางภูมิคุมกัน สารคารโบไฮเดรต

                 เปนแหลงพลังงาน และชวยใหรางกายสะสมไกลโคเจนไดเร็วกวาสารอาหารประเภทอื่นทําใหออกกําลังกาย
                 และเลนกีฬาไดโดยไมรูสึกเมื่อยลาเร็วจนเกินไป สวนไขมันนอกจากเปนแหลงพลังงานสะสม

                 ที่สําคัญในการออกกําลังกาย ชนิดแอโรบิกและการเลนกีฬาชนิดทนทานแลวยังจําเปนสําหรับการดูดซึม
                 วิตามินชนิดที่ละลายในไขมันอีกดวย แตไมควรบริโภคเกินรอยละ ๓๐ ของพลังงานทั้งหมด

                 เพราะจะทําใหอวน สวนเกลือแรและวิตามินผูที่ออกกําลังกายและเลนกีฬาควรไดรับเพิ่มจาก
                 การบริโภคอาหารบางชนิด เชน นม เครื่องในสัตว ผลไมและควรดื่มนํ้าเย็นที่สะอาดใหเพียงพอ

                 เพื่อชดเชยการสูญเสียเหงื่อและชวยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย
                          โภชนาการมีความสําคัญตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตมาก รางกายมีความตองการ
                 สารอาหาร เพื่อชวยใหเซลลทําหนาที่ไดอยางสมบูรณ ความตองการสารอาหารของแตละบุคคลจะมี

                 ความแตกตางกันขึ้นกับ เพศ นํ้าหนัก สวนสูง อายุ การเจริญเติบโตและกิจกรรมในชีวิตประจําวัน

                 อิทธิพลจากปจจัยและสิ่งแวดลอมอื่นจะเปนสวนประกอบ เชน ความตองการสารอาหารโปรตีน
                 ขึ้นอยูกับการรักษาดุลของสารไนโตรเจนในรางกาย ความตองการธาตุเหล็กสัมพันธกับการคงสภาพ
                 ของการเก็บรักษาธาตุเหล็กไวใชประโยชนของรางกาย ธาตุสังกะสีมีบทบาทสําคัญตอการสังเคราะห

                 และเมตาบอลิซึม (metabolism) ของกรดนิวคลีอิก กรดอะมิโน หากรางกายไดรับสารอาหาร
                 ไมครบถวน รางกายจะสามารถสังเคราะหสารอาหารที่ขาดหายไปไดสวนหนึ่ง โดยอาศัยการแปรสภาพ

                 มาจากสารอาหารอื่นๆ แตมีสารอาหารสวนหนึ่งซึ่งรางกายไมสามารถสังเคราะหได จําเปนจะตอง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29