Page 25 - หลักโภชนา
P. 25

๑๘




              ไดรับจากการบริโภคอาหารเทานั้น ไดแก กรดอะมิโนที่จําเปน กรดไขมันบางชนิด วิตามิน และเกลือ
              แรชนิดตางๆ ซึ่งรวมเรียกวาสารอาหารที่จําเปน (essential nutrients) หากไดรับไมเพียงพอจะมี

              ผลกระทบตอการทํางานของเซลลตาง ๆ ภายในรางกาย รางกายจึงตองไดรับอาหารใหครบ ๕ หมู
              สําหรับผูที่ออกกําลังกายและเลนกีฬาการบริโภคอาหารไมแตกตางไปจากคนปกติ แตผูที่ออกกําลัง

              กายและเลนกีฬาซึ่งใชพลังงานเพิ่มขึ้นจึงมีความจําเปนตองไดรับปริมาณอาหารมากขึ้น เพื่อรางกาย
              จะไดมีพละกําลังสามารถแขงขันไดนานและเอาชนะคูตอสูในการแขงขัน



              การใชพลังงานของรางกายขึ้นอยูกับองคประกอบตางๆ เชน

                       ๑.  พลังงานที่รางกายตองการใชเพื่อการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกาย
              เปนอัตราความตองการพื้นฐานปกติ (basal metabolic rate; BMR หรือ basal energy

              expenditure : BEE) โดยขณะพักรางกายจะใชพลังงาน ๑ กิโลแคลอรี ตอนํ้าหนัก ๑ กิโลกรัม
              ตอชั่วโมง ในขณะที่รางกายนอนหลับจะลดลงรอยละ ๑๐
                       ๒. พลังงานที่ใชในการประกอบกิจกรรม ขึ้นอยูกับลักษณะของกิจกรรมในชีวิตประจําวัน

              เพราะกิจกรรมแตละประเภทมีความหนักเบาแตกตางกัน ดังนั้นพลังงานที่ใชจึงตางกัน

                       ๓. พลังงานที่ใชเพื่อการเปลี่ยนแปลงสารอาหารภายในรางกาย (metabolic response of
              food) พลังงานสวนนี้จะไมเปลี่ยนแปลงตามขนาดของรางกายและการประกอบกิจกรรม โดยคิดเฉลี่ย
              เปนรอยละ ๑๐ ของพลังงานที่ตองการขั้นพื้นฐาน รวมกับพลังงานในการประกอบกิจกรรม



              พลังงานที่รางกายใชเพื่อการออกกําลังกายและเลนกีฬา

                       พลังงานในการหดตัวของกลามเนื้อ มี ๓ ระบบ คือ ระบบฟอสฟาเจน (phosphagen
              system), ระบบไกลโคเจนกรดแล็กติก (glycogen lactic acid system) หรือกลัยโคลัยซิส

              (glycolysis) และระบบแอโรบิก (aerobic system หรือ citric acid cycle) ในระหวางการออกกําลัง
              กายรางกายจะใชแหลงที่มาของ พลังงานแตกตางกันขึ้นอยูกับระยะเวลาของการออกกําลังกาย โดย

              ทั่วไปการออกกําลังกายในระยะแรกซึ่งใชเวลาไมเกิน ๓๐ วินาที จะใชพลังงานจากระบบฟอสฟาเจน
              โดยใช ATP (adenosine triphosphate) และครีเอทีนฟอสเฟตที่มีในกลามเนื้อ หากออกกําลังกาย

              ตอไปจะใชพลังงานจากการสลายไกลโคเจน ภายใตความตองการหรือไมตองการใชออกซิเจน
              (anaerobic glycolysis หรือ glycogen lactic acid system) หรือใชออกซิเจน (aerobic system)

              ตามตารางที่ ๑
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30