Page 26 - หลักโภชนา
P. 26
๑๙
ตารางที่ ๑ การเปรียบเทียบระบบเมตาบอลิซึม (metabolism) ที่สําคัญในการใหพลังงานสําหรับ
การหดตัวของกลามเนื้อ
Phosphagen system Glycolysis system Aerobic system
๑.ชนิดของกระบวนการ ไมใชออกซิเจน ไมใชออกซิเจน ใชออกซิเจน
เมตาบอลิซึม
๒.ความเร็วของปฏิกิริยา เร็วมาก เร็ว ช า
๓.เชื้อเพลิง ครีเอทีนฟอสเฟต ไกลโคเจนในกลามเนื้อ ไกลโคเจน ไขมันโปรตีน
(creatine phosphate) หรือกลูโคสในเลือด
๔.จํานวน ATP ที่ได จํากัดมาก จํากัด จ ํานวนมากมาย
๕.ผลพลอยได ครีเอทีนและฟอสเฟต กรดแล็กติก (lactic acid) คารบอนไดออกไซด
ทําใหเพลียลาไดงาย (CO )+นํ้า(H O)
2 2
๖.ระยะเวลา ๓๐ วินาทีแรกของการออก ๑-๓ นาทีแรกของการออก หลายนาทีถึงหลายชั่วโมง
กําลังกาย กําลังกาย
๗.กิจกรรมที่ใช กิจกรรมที่อาศัยกําลังและความเร็ว กิจกรรมที่ออกแรงมากในระยะ กิจกรรมที่ใชความทนทาน
สูงในระยะเวลาสั้นมาก เวลาสั้น หรือออกแรงนอย ๆ ในระยะ
เวลานานๆ
การใชพลังงานจากสารอาหารจําพวกคารโบไฮเดรตไมไดมาจากไกลโคเจนในกลามเนื้อ
เทานั้น แตยังมีไกลโคเจนที่สะสมที่ตับไดมากเทาๆ กัน และสามารถปลอยเขาสูกระแสเลือด
ในรูปของกลูโคส ซึ่งกลามเนื้อนําไปใชเปนแหลงพลังงาน และในขณะเดียวกันก็จะมีการเอา
กรดไขมันมาใชมากเพิ่มขึ้น เชน ถาออกกําลังกายติดตอกันเรื่อยๆ ประมาณ ๒๐ นาที พลังงานที่ได
จากสารคารโบไฮเดรตและไขมันจะพอๆ กัน หลังจากนั้นจะมีการใชไขมันมากขึ้นและใชคารโบไฮเดรต
ลดลง ดังนั้นถาผูใดตองการจะออกกําลังกายเพื่อลดความอวน จึงจําเปนที่จะตองออกกําลังกาย
ติดตอกันไมตํ่ากวา ๒๐ นาที สัปดาหละ ๓ ครั้ง จึงจะเห็นผล โดยจากการศึกษาวิจัยพบวาภายหลัง
จากการออกกําลังกายแบบแอโรบิก สัปดาหละ ๒ วัน วันละ ๑ ชั่วโมง เปนเวลา ๖ เดือน ระดับของ
ไขมันในเลือดทุกตัวจะลดลง
ความตองการสารอาหารในนักกีฬา
สารอาหารแตละชนิดมีคุณสมบัติและผลตอรางกายแตกตางกัน โปรตีน คารโบไฮเดรต
และไขมัน เปนสารที่ใหพลังงานแกรางกาย