Page 29 - หลักโภชนา
P. 29
๒๒
แคลเซียม รอยละ ๙๙ ของแคลเซียมในรางกายจะอยูในสวนประกอบของกระดูกและฟน
สวนที่เหลือจะอยูในซีรัม แคลเซียมจากกระดูกทําหนาที่สําคัญในการควบคุมความสมดุลของกรดดาง
ในรางกาย นอกจากนี้แคลเซียมยังมีหนาที่อื่นอีก เชน ชวยในการแข็งตัวของเลือด ชวยระบบ
การทํางานของกลามเนื้อและเสนประสาท หากรางกายขาดแคลเซียมจะทําใหมีอาการชา
กระตุกเกร็ง เปนตะคริวและชักได โดยปกติรางกายจะพยายามรักษาดุลของแคลเซียมในซีรัมใหอยู
ในระดับปกติ หากแคลเซียมในซีรัมลดตํ่าลงจะมีการสลายแคลเซียมจากกระดูกเพื่อเพิ่มระดับแคลเซียม
ในซีรัมทําใหแคลเซียมในกระดูกคอยๆ ลดลงจนกระดูกบางและผุกรอนได สําหรับผูที่ออกกําลังกาย
และเลนกีฬามีการใชแคลเซียมมาก จึงควรบริโภคอาหารที่เปนแหลงแคลเซียมเพิ่มขึ้น ไดแก นม
ปลาตัวเล็กที่สามารถรับประทานไดทั้งกระดูก สวนผักใบเขียวและถั่วตาง ๆ มีแคลเซียมอยูพอสมควร
แตแคลเซียมจากพืชจะดูดซึมไดนอยเนื่องจากมีใยอาหารขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง) รางกายมีความจําเปนตองรักษาปริมาณโซเดียมคลอไรด
ใหอยูในชวงที่พอเหมาะ โซเดียมคลอไรดในรางกาย (total body sodium) เปนตัวควบคุมปริมาตร
ของเหลวนอกเซลล (extracellular fluid: ECF) การไดรับมากเกินไปจะมีอาการบวม (edema) รางกาย
จะเสียโซเดียมคลอไรดทางอุจจาระ ปสสาวะและเหงื่อ เหงื่อ ๑ ลิตร จะมีโซเดียมคลอไรด ๑-๒ กรัม
ในรางกายคนปกติจะมีโซเดียมคลอไรดสํารอง ๔-๖ กรัม นักกีฬาหรือผูที่ออกกําลังกายฝกเพียง
๑ ชั่วโมง ไมมีความจําเปนตองเสริมโซเดียมคลอไรด หากนักกีฬาฝกนานถึง ๒-๓ ชั่วโมง รางกาย
จะขาดโซเดียมคลอไรดอยูระยะหนึ่งทําใหรางกายทํางานตอไป ไมมีประสิทธิภาพเพราะรางกาย
ขาดกระบวนการที่สั่งใหกลามเนื้อหดตัว ดังนั้นนักกีฬาที่ออกแรงมากเปนเวลานานจึงควรกิน
โซเดียมคลอไรดเสริมในรูปของสารละลายเพียงเล็กนอย (๑-๒ กรัม) ผสมกับนํ้าหวานเจือจาง
ก็จะทําใหรางกายสดชื่นขึ้น
สังกะสี เปน trace element ที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากสังกะสีเปนองคประกอบ
ของเอนไซม (enzyme) หลายชนิดในรางกาย เชน alkaline phosphatase, carbonic anhydrase
และ transferases และยังมีบทบาทเกี่ยวของกับสารในรางกายหลายชนิด เชน presecretory insulin,
microtubular proteins สังกะสีจึงมีบทบาทสําคัญตอกระบวนการเมตาบอลิซึมของสารอาหาร
หลายชนิด ผูที่ขาดสังกะสีจะมีการหลั่งฮอรโมนอินซูลินตํ่ากวาปกติ แหลงอาหารที่ใหสังกะสีไดแก
เนื้อสัตว ตับ อาหารทะเล ไขและธัญพืช
นํ้า (water) ในรางกายคนเราจะมีนํ้าเปนสวนประกอบอยูถึงรอยละ ๕๐-๖๐ ของนํ้าหนักตัว
นํ้ามีความสําคัญตอการทํางานของเซลลกลามเนื้อโดยทําหนาที่
๑. เปนตัวทําละลาย (solvent) เพื่อใหสารเคมีในรางกายอยูในรูปของของเหลวเพื่องาย
ตอการขนสงจากเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่ง
๒. ชวยควบคุมอุณหภูมิในรางกายโดยนํ้าเปนตัวชวยปรับอุณหภูมิโดยสงถายความรอน
ไปตามกระแสเลือดเพื่อใหความรอนแผไปสูผิวหนังหรือระบายออกโดยการระเหยของเหงื่อ