Page 27 - หลักโภชนา
P. 27

๒๐




              โปรตีน (protein)

                       เปนสารอาหารที่รางกายจําเปนตองไดรับอยางเพียงพอทั้งคุณภาพและปริมาณ
              เพื่อเสริมสรางใหรางกายเจริญเติบโต ใชในการซอมแซมเซลลตางๆ และสงเสริมระบบภูมิตานทาน

              ภายในรางกายมากกวาที่จะมาใชเปนพลังงานในการออกแรง ตามความเชื่อเดิมมักจะคิดวาผูที่
              ออกกําลังกายมากๆ หรือเลนกีฬาจําเปนจะตองรับประทานอาหารที่ใหโปรตีนสูงเพื่อเพิ่ม

              ความแข็งแรงใหแกกลามเนื้อและเพิ่มประสิทธิภาพในการแขงขัน แตจากการศึกษาทางดานโภชนาการ
              พบวา การที่รางกายไดรับอาหารประเภทโปรตีนมากเกินความตองการ นอกจากจะไมกอใหเกิด

              ประโยชนตามที่ตองการแลวยังเกิดผลเสียตอประสิทธิภาพในการแขงขันดวย เนื่องจากโปรตีน
              เปนสารอาหารที่มีไนโตรเจนเปนองคประกอบหลักรางกายไมสามารถเก็บสะสมไนโตรเจนไวได

              สวนที่เหลือจากการใชถูกขับออกจากรางกายในรูปของแอมโมเนียซึ่งจะเพิ่มภาระใหกับการทํางาน
              ของไต ปริมาณความตองการโปรตีนแตละบุคคลเทากับปริมาณนอยที่สุดที่รางกายสามารถรักษา

              สมดุลของไนโตรเจนที่สูญเสียออกจากรางกาย สําหรับผูใหญตองการโปรตีนวันละ ๐.๗-๐.๙ กรัม/
              กิโลกรัม ถาเปนนักกีฬาที่ตองใชกลามเนื้อตองการโปรตีน ๑.๒-๑.๕ กรัม/กิโลกรัม แตไมควรเกิน

              รอยละ ๑๕-๒๐ ของพลังงานทั้งหมด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคุณภาพของโปรตีนที่บริโภคเขาไป โปรตีนที่จัดวา
              มีคุณภาพดี จะตองมีองคประกอบที่รางกายสามารถนําไปสังเคราะหเปนโปรตีนของรางกายไดมาก

              โดยดูจากคา net protein uti-lization (NPU) เชน ไขไกมี NPU รอยละ ๙๕ หมายความวา รางกาย
              สามารถใชโปรตีนจากไขไดรอยละ ๙๕ ขาวโอตและเนื้อสัตวมี NPU รอยละ ๖๘ สําหรับพืชโดยทั่วไป

              ซึ่งมักถูกลืมวาเปนแหลงของโปรตีนนั้น จะมี NPU ประมาณ รอยละ ๓๐-๖๘ ดังนั้นอาหาร
              ซึ่งมีโปรตีนอยูไมจําเปนตองอยูในรูปของเนื้อสัตวเสมอไป



              คารโบไฮเดรต (carbohydrate)

                       เปนสารอาหารที่ให พลังงานแกรางกายและเปนรูปแบบของพลังงานสะสมที่สําคัญที่สุด
              สําหรับผูที่ออกกําลังกาย ชวยใหออกกําลังกายไดทนนาน รางกายควรไดรับคารโบไฮเดรตเชิงซอน
              (complex carbohydrate) เชน ขาว แปง เผือก มัน มากกวาคารโบไฮเดรตเชิงเดี่ยว (simple car-

              bohydrate) เชน นํ้าตาล เพราะมีผลในการกระตุนฮอรโมนอินซูลิน (insulin hormone) นอยกวา
              มีผลตอระดับไขมันประเภทไตรกลีเซอไรด (triglyceride) ในเลือดนอยกวาและยังชวยเพิ่มกากอาหาร

              อีกดวย โดยรางกายจะเปลี่ยนสารอาหารคารโบไฮเดรตใหเปนกลูโคส เพื่อใหพลังงานและกลูโคส
              ที่เหลือรางกายจะเก็บสะสมเปนพลังงานในรูปของไกลโคเจน (glycogen) ที่กลามเนื้อและตับ



              ไขมัน (fat)

                       ทําหนาที่ใหพลังงานและเปนตัวทําละลายวิตามินบางชนิด ไขมันเปนองคประกอบที่สําคัญ
              ของผนังเซลล ไขมันในรางกายสวนใหญจะถูกสะสมไวเปนพลังงานสํารองโดยเฉพาะในการออกกําลังกาย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32