Page 48 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 48

๔๐


                         ๔)  ใช้ในการจัดล าดับในระบบการศึกษา เพื่อช่วยกระตุ้นในการพัฒนาและช่วยจัดล าดับขั้นตอน
                  การพัฒนาของระบบการศึกษา  ที่ค่อนข้างเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือได้  การใช้ดัชนีเพื่อจัดล าดับระบบ

                  การศึกษาจะช่วยให้นักวางแผน  ผู้บริหารข้อมูลที่ใช้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนสมาชิก
                  การจัดล าดับนี้อาจจะน ามาใช้เปรียบเทียบกันระหว่างพื้นที่ก็ได้  จะช่วยชี้ให้เห็นถึงลักษณะที่เหมือนกัน
                  หรือที่แตกต่างกันโดยการใช้ดัชนีเดียวกันเป็นเครื่องวัด  การจัดล าดับของ  เขตพื้นที่การศึกษาในกลุ่มพื้นที่
                  ใกล้เคียงกัน จะช่วยให้เห็นว่าที่ใดยังต่ ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย


                         ดัชนีพื้นฐานที่ส าคัญบางตัวและการค านวณหาค่าดัชนี

                         อัตราการเข้าเรียน (Enrollment rate) อัตราการเข้าเรียน คืออัตราส่วนจ านวนนักเรียนเข้าใหม่
                  ในชั้นเรียนต่อจ านวนผู้ที่มีคุณสมบัติที่พร้อมที่จะเข้าเรียนในชั้นนั้น  โดยทั่วไปจะใช้กับชั้นประถมปีที่  ๑
                  ซึ่งค านวณได้โดยสูตร
                         อัตราการเข้าเรียนชั้น ป.๑ = จ านวนนักเรียนเข้าใหม่ในชั้น ป.๑ ในปี ก./จ านวนเด็กที่มีอายุ ๖ ปี
                  ในปี ก. อัตราดังกล่าวนี้ ใช้ประโยชน์มากในการคาดคะเนจ านวนนักเรียนที่จะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา

                  ปีที่ ๑

                         อัตราการซ้ าชั้น (repetition rate) อัตราการซ้ าชั้น คืออัตราส่วนจ านวนนักเรียนที่ตก ซ้ าชั้นใด

                  ชั้นหนึ่งต่อจ านวนนักเรียนทั้งหมดเมื่อต้นปีการศึกษาในชั้นนั้น การค านวณใช้สูตรดังนี้

                         อัตราการซ้ าชั้นของ    =     จ านวนนักเรียนตกซ้ าชั้น ป.๑ ในปีการศึกษา ก.
                         ป.๑ ปีการศึกษา ก.             จ านวนนักเรียนทั้งหมดเมื่อต้นปีการศึกษา ก.


                         อัตราการเลื่อนชั้น (promotion rate) อัตราการเลื่อนชั้น คืออัตราส่วนจ านวนนักเรียนที่อยู่ใน
                  ขั้นสูงขึ้นต่อจ านวนนักเรียนทั้งหมดเมื่อต้นปีการศึกษา อาจเขียนเป็นสูตรตัวอย่างการค านวณ ดังนี้


                         อัตราการเลื่อนชั้น    =         จ านวนนักเรียน ป.๑ ที่เลื่อนชั้นไปอยู่ ป.๒
                         ป.๒/ป.๑ ปีการศึกษา ก.        จ านวนนักเรียนชั้น ป.๑ ทั้งหมดเมื่อต้นปีการศึกษา ก.


                         อัตราการออกกลางคัน (drop-out rate) อัตราการออกกลางคัน คืออัตราส่วนจ านวนนักเรียน
                  ที่ออกไปจากการเรียนในชั้นหนึ่ง โดยไม่ได้ไปเรียนต่อที่อื่นใด ต่อจ านวนนักเรียนในชั้นนั้นทั้งหมดเมื่อต้นปี
                  การศึกษา ค านวณได้ดังนี้


                         อัตราการออกกลางคัน   =       จ านวนนักเรียน ป.๑ ที่ออกกลางคันในปีการศึกษา ก.
                         ของ ป.๑ ปีการศึกษา ก.         จ านวนนักเรียน ป.๑ ทั้งหมดเมื่อต้นปีการศึกษา ก.


                         อัตราการเลื่อนชั้น  อัตราการซ้ าชั้น  และอัตราการออกกลางคันนี้  นอกจากจะเป็นดัชนีที่ใช้
                  ในการคาดคะเนจ านวนนักเรียนในอนาคตแล้ว  ยังเป็นดัชนีที่เป็นประโยชน์ต่อการค านวณหาอัตราการ

                  สูญเปล่า (wastage ratio) ของระบบการศึกษา ใช้ชี้วัดในเรื่องประสิทธิภาพภายใน (Internal effciency)
                  ของระบบการศึกษาอีกด้วย


                         อัตราการเรียนต่อ (transition rate) คือ อัตราส่วนจ านวนนักเรียนเข้าใหม่ในชั้นต้นของระบบ
                  การศึกษาที่สูงกว่าในปีการศึกษาหนึ่ง  ต่อจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาของระดับการศึกษาที่ต่ ากว่าในปี
                  การศึกษาที่ผ่านมา เช่น


                  คู่มือปฏิบัติงาน
                  โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53