Page 591 - Full paper สอฉ.3-62
P. 591

Analysis)ในการท างานเพื่อทบทวนวิสัยทัศน์ พันธะกิจและ  ปีแต่ยังสามารถบริหารการจัดเก็บภาษีอากรได้สูงกว่าเป้าหมาย
             ก าหนดยุทธ์ศาสตร์ของกรมสรรพากรในช่วง 5 ปีข้างหน้า  การจัดเก็บภาษีที่ได้รับให้จัดเก็บตลอดมา

             (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559) โดยให้ประชาชนเป็นจุดกลางในการ  จากความเป็นมาและความส าคัญของปัญหาดังที่กล่าว ผู้
             เน้นเรื่องการบริการเพื่อให้ผู้เสียภาษีได้รับบริการที่ดีและ  ศึกษาจึงสนใจศึกษาการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรของ

             รวดเร็วด้วยระบบงานที่มาตรฐานและรายได้ภาษีของประเทศที่  ส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์
             ยั่งยืนต่อไป                                     เพื่อส ารวจการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร ซึ่งท าการเก็บ
                ทั้งนี้ในช่วงเวลา 3 ปี ที่ผ่านมากรมสรรพากรได้มีการ  รวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากรในจังหวัด
             ก าหนดแผนปฏิบัติงานประจ าปีโดยให้ความส าคัญในการ  ร้อยเอ็ด ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษา สามารถใช้เป็นข้อสนเทศ

             พัฒนาศักยภาพของบุคลากร การปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน  ในการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรที่ดี
             ให้สอดคล้องเหมาะสมต่อการท างานและให้บริการต่าง ๆ การ  ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนเป็นข้อมูลที่สามารถน าไป

             ประชาสัมพันธ์ผู้เสียภาษีด้วยสื่อต่าง ๆ เพื่อสร้างภาพลักษณ์  ปรับปรุงใช้กับเจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากรในจังหวัดอื่นเพื่อ
             ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้เสียภาษีตลอดจนแผน E-Revenue เพื่อ  ส่งผลให้บรรลุประสิทธิผลของกรมสรรพากรต่อไป
             เป็ นการลดค่าใช้จ่ายทั้งในส่วนของผู้เสียภาษีและการ    2.  วัตถุประสงค์ในการศึกษา

             บริหารงานการจัดเก็บภาษีอากร และผู้เสียภาษีได้รับบริการที่  2.1 เพื่อการศึกษาข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่บริหารงาน
             สะดวกโปร่งใส ชัดเจน ซึ่งจะท าให้การจัดเก็บภาษีอากรได้เต็ม  สรรพากร ส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด

             เม็ดเต็มหน่วย นอกจากนี้กรมสรรพากรได้มีการเร่งปรับปรุง  2.2 เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารการจัดเก็บ
             การบริหารงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  ภาษีอากรของเจ้าหน้าที่สรรพากร ส านักงานสรรพากรในเขต
             เป็นหลักในการให้บริหาร ผู้เสียภาษีมีการก ากับภาษีมีการก ากับ  จังหวัดร้อยเอ็ด
             ดูแลการเสียภาษีให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อลดภาระภาษี  2.3 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารการ

             ของผู้ประกอบการ และลดปัญหาการตรวจสอบภาษีย้อนหลัง  จัดเก็บภาษีอากรของเจ้าหน้าที่สรรพากร ที่มีเพศ อายุ ระดับ
             รวมทั้งวางรากฐานทางด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ  การศึกษา ประสบการณ์ท างาน รายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน

             เพิ่มช่องทางให้บริการใหม่ ๆ แก่ผู้เสียภาษีให้สะดวกรวดเร็ว
             ยิ่งขึ้นและลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานตลอดจนการปรับ  3. วิธีการด าเนินงาน
             กระบวนการการท างานภายในให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น(อุบล  3.1  ประชากร

             รัตน์ วังสุวรรณ. 2556 : 61-71)                           ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่
                สรรพากรภาค  10 เป็ นหน่วยงานหนึ่ งในสังกัด    บริหารงานสรรพากรของส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัด

             กรมสรรพากรซึ่งท าหน้าที่ในการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร   ร้อยเอ็ด จ านวน 184 คน (กรมสรรพากรภาค 10. 2557 :
             การบริการผู้เสียภาษีและประชาชนหน่วยงานในสังกัดซึ่ง  เว็บไซต์)
             ประกอบด้วย ส านักงานสรรพากรพื้นที่ จ านวน 11 พื้นที่ คลอบ  3.2  กลุ่มตัวอย่าง

             คลุม 11 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีส านักงาน      กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่
             สรรพากรพื้นที่สาขา จ านวน 142 สาขา จากเป้าหมายการ  บริหารงานสรรพากร ของส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัด
             จัดเก็บภาษีอากรที่สูงขึ้นท าให้หน่วยงานส านักงานสรรพากร  ร้อยเอ็ด จ านวน 123 คน ก าหนดขนาดโดยการเปิดตารางเครซี่

             ภาค 10 ได้จัดสรรเป้าหมายการจัดเก็บภาษีอากรใน     และมอร์แกน โดยสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified  Random
             ปีงบประมาณ 2548 ให้กับส านักงานสรรพากรพื้นที่จังหวัด  Sampling)
             ร้อยเอ็ดจ านวน 515.636 ล้านบาท การเจริญเติบโตทาง

             เศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและเป็นการจัดเก็บภาษีอากรที่สูงขึ้นทุก




                                                              3
                                                                                                              573
   586   587   588   589   590   591   592   593   594   595   596