Page 592 - Full paper สอฉ.3-62
P. 592

3.3  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา                  3.5  การเก็บรวบรวมข้อมูล
                    เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบสอบถามซึ่ง  3.5.1  จัดท าแบบสอบถามตามจ านวนกลุ่มตัวอย่าง

             ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากร ซึ่งได้สร้าง  เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความสมบูรณ์ของ
             ตาม  วัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่ก าหนดขึ้นโดยแบ่ง  แบบสอบถาม
             ออกเป็น 2 ตอน ดังนี้                                    3.5.2  ยื่นขอหนังสือจากภาควิชาการบัญชี วิทยาลัย

                    ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่บริหารงาน  การอาชีพร้อยเอ็ด เพื่อขอความอนุเคราะห์เข้าท าการเก็บข้อมูล
             สรรพากรของส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด          3.5.3  น าหนังสือขอความอนุเคราะห์เข้าท าการเก็บ
             ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการจ านวน  5   ข้อมูลยื่นต่อผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

             ข้อ โดยครอบคลุมข้อมูลเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษา  การเกษตร เพื่อขอเข้าเก็บข้อมูล
             ประสบการณ์ในการท างาน รายได้ต่อเดือน                    3.5.4  ส ารวจความถูกต้อง ครบถ้วน และความ

                    ตอนที่ 2 ความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการบริหารจัดเก็บ  สมบูรณ์ของแบบสอบถามที่เก็บรวบรวม
             ภาษีอากรของเจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากรของส านักงาน      3.5.5  ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม
             สรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด ลักษณะแบบสอบถามเป็น  ทั้งหมดต่อไป

             แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จ านวน 20 ข้อ   3.6  การวิเคราะห์ข้อมูล
             ได้แก่ ด้านการวางแผน จ านวน 3 ข้อ ด้านการจัดองค์การ     ผู้ศึกษาได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม

             จ านวน 2 ข้อ  ด้านการจัดคนเข้าท างาน จ านวน 3  ข้อ ด้านการ  คอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป โดยแบ่งได้ดังนี้
             อ านวยการ  จ านวน 3 ข้อ ด้านการประสานงาน จ านวน 4  ข้อ   3.6.1  ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้กรอก
             ด้านการรายงานผล จ านวน 2 ข้อ  และ ด้านการจัดท า  แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่บริหารงานสรรพากร
             งบประมาณ จ านวน  3 ข้อ                           ส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด ใช้สถิติเชิงพรรณนา

                 3.4 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม                 โดยการหาค่าร้อยละ (Percentage)
                    3.4.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสาร ต ารา วารสาร งานวิจัยที่  3.6.2  ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลระดับความคิดเห็น

             เกี่ยวข้องเพื่อน ามาเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือ   เกี่ยวกับการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร  ของเจ้าหน้าที่
                    3.4.2 สร้างแบบทดสอบเพื่อเก็บข้อมูลตามความมุ่ง  บริหารงานสรรพากร ส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัด
             หมายให้คลอบคลุมเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และเสนอ  ร้อยเอ็ด วิเคราะห์หาค่าสถิติ ซึ่งประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean)

             อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหาของ  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
             การศึกษาและแก้ไขตามที่เสนอแนะ แล้วจัดท าเป็ น           3.6.3 ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับ
             แบบทดสอบที่สมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป    การบริหารการจัดเก็บภาษีอากร ของเจ้าหน้าที่บริหารงาน

                    3.4.3 น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามกรอบ     สรรพากร ส านักงานสรรพากรในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด จ าแนก
             แนวความคิดแล้วเสนออาจารย์ที่ปรึกษา               ตาม เพศ อายุ  ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
                เพื่อพิจารณาความครบถ้วน ความถูกต้อง และครอบคลุม  รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis

             เนื้อหาของการศึกษาที่ท าการส ารวจแล้วน ามาปรับปรุงแก้ไข  of Variance: ANOVA)
             ตามที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะน า                        3.7  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

                    3.4.4 น าแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอ       3.7.1  ร้อยละ (Percentage)
             อาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาความถูกต้องของเนื้อหา และ        3.7.2  คะแนนเฉลี่ย (Mean)
             การใช้ภาษา                                              3.7.3  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

                                                                     3.7.4  ค่า F-test (ANOVA)




                                                              4
                                                                                                              574
   587   588   589   590   591   592   593   594   595   596   597