Page 599 - Full paper สอฉ.3-62
P. 599
2. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning 10. การเรียนรู้แบบการเขียนบันทึก (Keeping journals
group) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ท างาน or logs) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจดบันทึก
ร่วมกับผู้อื่น โดยจัดเป็นกลุ่มๆ ละ 3-6 คน เรื่องราวต่างๆ ที่ได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led รวมทั้งเสนอความคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับบันทึกที่เขียน
review sessions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ 11. การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and
ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการ produce a newsletter) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้
ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มี ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ
ปัญหา ข้อมูลสารสนเทศ ข่าวสาร และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วแจกจ่าย
4. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการ ไปยังบุคคลอื่นๆ
เรียนรู้ที่ผู้สอนน าเกมเข้าบูรณาการในการเรียนการสอน ซึ่ง 12. การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept
ใช้ได้ทั้งในขั้นการน าเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมาย mapping) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนออกแบบ
งาน และหรือขั้นการประเมินผล แผนผังความคิด เพื่อน าเสนอความคิดรวบยอด และความ
5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions เชื่อมโยงกันของกรอบความคิด โดยการใช้เส้นเป็นตัวเชื่อมโยง
to videos) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดู อาจจัดท าเป็นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แล้วน าเสนอผลงานต่อ
วีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อน ผู้เรียนอื่นๆ จากนั้นเปิดโอกาสให้ผู้เรียนคนอื่นได้ซักถามและ
ความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
เขียน หรือ การร่วมกันสรุปเป็นรายกลุ่ม ดังนั้นผู้วิจัยเห็นความส าคัญในการจัดการเรียนการสอนใน
6. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจัด ปัจจุบัน ที่ใช้หลักการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active Leaning)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนได้ จึงได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้
น าเสนอข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพื่อยืนยัน ความรู้และสนุกสนานกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
แนวคิดของตนเองหรือกลุ่ม เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการวิชาชีพเรื่องการ
7. การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student ท างานแบบมีส่วนร่วมหรือการท างานเป็นทีมต่อไป
generated exam questions) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ วัตถุประสงค์
ผู้เรียนสร้างแบบทดสอบจากสิ่งที่ได้เรียนรู้มาแล้ว เพื่อศึกษาผลของการใช้การสอนแบบมีส่วนร่วม(Active
8. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research Leaning) ที่มีต่อนักศึกษาในวิชาวิชาการบริหารยุคใหม่และ
proposals or project) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิง ภาวะผู้น า
กระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนก าหนดหัวข้อที่ต้องการเรียนรู้ ขอบเขตของการวิจัย
วางแผนการเรียน เรียนรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้างผลงาน ผู้วิจัยได้ก าหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้
และสะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรืออาจเรียกว่าการสอน 1. ขอบเขตประชากรคือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาการ
แบบโครงงาน(project-based learning) หรือ การสอนแบบใช้ บริหารยุคใหม่และภาวะผู้น า ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ปัญหาเป็นฐาน(problem-based learning) สาขาวิชาการจัดการส านักงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
9. การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case จ านวน 8 คน
studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อ่านกรณี 2. ขอบเขตเชิงเนื้อหาการจัดการเรียนการสอนที่ใช้
ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และ กิจกรรม วิธีการ และรูปแบบการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม Leaning) ในวิชาวิชาการบริหารยุคใหม่และภาวะผู้น า ได้แก่
แล้วน าเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบการสอนโดยใช้ผัง
กราฟฟิก การอภิปรายกลุ่ม กรณีศึกษา การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
4
581