Page 62 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 62

55



                         10. อาหารใสวัตถุกันเสีย  มีอาหารหลายอยาง เชน น้ําพริก น้ําซอส ขนมเม็ดขนุน ทองหยอด

                  ฝอยทอง รวมทั้งอาหารสําเร็จรูปบรรจุกลองไดใสวัตถุกันเสีย คือ กรดซาลิซีลิก (Salicylic Acid) ซึ่งเปน
                  อันตรายแกสุขภาพ วัตถุกันเสียที่กระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหผูผลิตอาหารที่มีความจําเปนตองใช ไดแก

                  โซเดียมเบนโซเอต (Sodium Benzoate) โดยใชผสมคิดเปนรอยละไมเกิน 0.1 ของน้ําหนักอาหาร

                         11. อาหารใสสารกําจัดศัตรูพืช  มีอาหารบางอยางที่มีผูนิยมใสสารกําจัดศัตรูพืชบางประเภท เชน
                  ดีดีทีผสมกับน้ําเกลือแชปลา ใชทําลายหนอนที่เกิดขึ้นในปลาเค็ม เพื่อเก็บรักษาปลาเค็มใหอยูไดนาน ซึ่งสาร

                  กําจัดศัตรูพืชเหลานี้ยอมเปนอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค

                         3.  อันตรายจากอาหารไมบริสุทธิ์และอาหารปลอมปน

                         อาหารปลอมปนที่กลาวมานี้ แมบางอยางอาจไมมีอันตรายแตจัดวาเปนการหลอกลวง บางอยางมี
                  อันตรายนอย บางอยางมีอันตรายมาก ทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับสมบัติและปริมาณของสิ่งที่เจือปนหรือผสมเขาไป

                  รวมทั้งปริมาณที่รางกายไดรับดวย ดวยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขจึงไดดําเนินการควบคุมเกี่ยวกับเรื่อง

                  อาหาร และไดประกาศชี้แจงใหประชาชนทราบถึงอันตรายเปนระยะๆ เกี่ยวกับเรื่องอาหารไมบริสุทธิ์และ

                  อาหารปลอมปน ซึ่งพอสรุปได ดังนี้
                             1)  อันตรายจากการใชสารบอแรกซผสมในอาหาร อาหารบางประเภท เชน ลูกชิ้นเนื้อวัว หมูยอ

                  มักมีสวนผสมของสารบอแรกซอยู ถาบริโภคเปนประจําจะไดรับสารบอแรกซเขาไปมากซึ่งอาจเปนอันตราย

                  ตอรางกายหรือถึงแกชีวิตได
                             2)  อันตรายจากการใชโซเดียมไซคลาเมต (Sodium Syclamate) หรือ ขัณฑสกรผสมในอาหาร

                  โซเดียมไซคลาเมตที่ใชผสมในอาหารหรือเครื่องดื่มเพื่อใหความหวานแทนน้ําตาลอาจทําใหผูบริโภคเปน

                  โรคมะเร็งได

                             3)  อันตรายจากพิษตกคางของสารกําจัดศัตรูพืช สวนมากมักพบในผัก ผลไม และเนื้อสัตว
                  เนื่องจากสารฆาแมลงที่ตกคางอยูในผัก ผลไม และเนื้อสัตวที่คนเราบริโภคเขาไปครั้งละนอยๆ จะไมแสดง

                  อาการทันที แตถามีขนาดมากพอหรือรับประทานติดตอกันนานๆ จะมีอันตรายเพิ่มมากขึ้น บางรายอาจถึงกับ

                  เปนอัมพาต หรือเปนอันตรายถึงแกชีวิตได

                             4)  อันตรายจากการใชโซเดียมคารบอเนตผสมในอาหาร โซเดียมคารบอเนตหรือโซดาซักผา
                  เมื่อนําไปใชเปนสวนผสมเพื่อทําใหเนื้อสดนุมกอนที่จะนําไปปรุงเปนอาหารรับประทาน อาจกอใหเกิด

                  อันตรายได เพราะโซเดียมคารบอเนตมีฤทธิ์กัดเยื่อออนของระบบทางเดินอาหารทําใหคลื่นไส อุจจาระรวง

                  อาเจียน และอาจรุนแรงถึงแกชีวิตไดถารับประทานตั้งแต 30 กรัมขึ้นไป
                         สรุป

                         การสุขาภิบาลอาหารเปนการดําเนินการดวยวิธีการตางๆ ที่จัดการเกี่ยวกับอาหารในดานการ

                  ปรับปรุง การบํารุงรักษา และแกไขเพื่อใหอาหารที่บริโภคเขาสูรางกายแลวมีผลดีตอสุขภาพ ทั้งนี้เนื่องจาก
                  อาหารมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต โดยใชในการสรางพลังงาน ชวยใหรางกายเกิดความกระปกระเปรา และ

                  ชวยใหรางกายมีความแข็งแรงตานทานโรคภัยตางๆ สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปกติสุข
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67