Page 67 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 67

60



                         9)  การจัดอาหารใหมีสีสันนากิน โดยพยายามใชสีที่เปนธรรมชาติ ปรุงแตงใหอาหารมีหนาตานา

                  รับประทาน อาหารที่จัดใหควรจะอุนหรือรอนพอสมควร เพื่อเพิ่มความอยากอาหารใหมาก
                         10) ไมควรใหผูสูงอายุรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด จะเกิดอาการปวดมวนทอง หรือทานแลวเกิด

                  ความรูสึกไมสบายตัว อาจจะทําใหเกิดผลเสียตอทางเดินอาหารได

                         สรุปวัยสูงอายุ เรื่องอาหารเปนเรื่องที่สําคัญ เราถือวาอาหารเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหผูสูงอายุมี
                  สุขภาพดี เพราะฉะนั้นลูกหลานหรือผูดูแล หรือแมแตตัวผูสูงอายุเอง ควรเขาใจในการเลือกรับประทาน

                  อาหารที่มีประโยชนตอรางกาย การบริโภคอาหารที่ดีเพื่อสงเสริมสุขภาพ เราควรจะตองเตรียมตัวตั้งแตวัย

                  หนุมสาว เพื่อเปนผูสูงอายุที่มีสุขภาพดีตอไป
                         4.  อาหารสําหรับผูปวย

                         อาหารสําหรับผูปวย คนเราเมื่อเจ็บปวยยอมจะตองดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะเรื่องอาหาร

                  เปนพิเศษ ผูปวยมีลักษณะการเจ็บปวยที่แตกตางกัน ยอมตองการบริโภคอาหารที่แตกตางกัน ดังนี้

                         อาหารธรรมดา สําหรับผูปวยธรรมดาที่ไมไดเปนโรครายแรงที่ตองรับประทานอาหารเฉพาะ จะเปน

                  อาหารที่มีลักษณะและสวนประกอบเชนเดียวกับอาหารปกติ เปนอาหารหลัก 5 หมู ใหไดสารอาหารเพียงพอ
                  กับความตองการของรางกาย

                         อาหารออน เปนอาหารสําหรับผูปวยที่ไมสามารถเคี้ยวไดตามปกติ ผูปวยภายหลังการพักฟน หรือ

                  ผูปวยที่เปนโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหารอยางเฉียบพลัน เชน ทองรวง บิด เปนตน อาหารประเภทนี้จะเปน
                  อาหารที่มีเนื้อนิ่ม มีรสออน ยอยงาย ไมมีกากแข็งหยาบ ไมมันจัด เชน นม ครีม ไขทุกชนิดที่ไมใชวิธีทอด

                  ปลานึ่งหรือยาง เนื้อบด ไกตมหรือตุน ซุปใส แกงจืด ผักที่มีกากนอยและไมมีกลิ่นฉุนตมสุกบดละเอียด น้ํา

                  ผลไมคั้น กลวยสุก เปนตน

                         อาหารเหลว เปนอาหารสําหรับผูปวยที่พักฟนหลังผาตัดและผูปวยที่เปนโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร
                  และลําไส เปนอาหารที่ยอยงาย ไมมีกาก มี 2 ชนิด คือ

                         (1)  อาหารเหลว เชน น้ําชาใสมะนาวและน้ําตาล กาแฟใสน้ําตาล ซุปใสที่ไมมีไขมัน น้ําขาวใส

                  สารละลายน้ําตาลหรือกลูโคส เปนตน ซึ่งจะใหกินทีละนอยทุก 1 – 2 ชั่วโมง เมื่อผูปวยกินไดมากขึ้นจึงคอย

                  เพิ่มปริมาณ
                         (2)  อาหารเหลวขน เปนของเหลวหรือละลายเปนของเหลว เชน น้ําขาวขน ขาวบดหรือเปยก ซุป

                  ขึ้น นมทุกชนิด เครื่องดื่มผสมนม น้ําผลไม น้ําตมผัก ไอศกรีม ตับบดผสมซุป เปนตน

                         อาหารพิเศษเฉพาะโรค เปนอาหารที่จัดขึ้นตามคําสั่งแพทย สําหรับโรคบางชนิดที่ตองระมัดระวัง
                  หรือควบคุมอาหารเปนพิเศษ เชน อาหารจํากัดโปรตีนสําหรับผูปวยโรคตับบางอยางและโรคไตเรื้อรัง

                  อาหารกากนอยสําหรับผูปวยอุจจาระรวงรุนแรง อาหารกากมากสําหรับผูที่ลําไสใหญไมทํางาน อาหาร

                  แคลอรีต่ําสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน อาหารโปรตีนสูงสําหรับผูปวยที่ขาดโปรตีนหรือหลังผาตัด อาหาร

                  จําพวกโซเดียมสําหรับผูปวยโรคหัวใจ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72