Page 68 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 68

61



                    การจัดการอาหารสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน

                         1.  ทานอาหารใหตรงเวลาและทานครบทุกมื้อในปริมาณใกลเคียงกัน ไมทานจุกจิก
                         2.  อาหารที่ควรงด ไดแก ขนมหวาน ขนมเชื่อม น้ําหวาน น้ําอัดลม นมหวาน เหลา เบียร ผลไมที่มี

                  รสหวานจัด ผลไมกระปอง ผลไมเชื่อม ผลไมแชอิ่ม

                         3.  อาหารที่ควรควบคุมปริมาณ ไดแก อาหารพวกแปง เชน ขาว ขนมปง ขนมจีบ สวนผักที่มี

                  น้ําตาลและแปง เชน ฟกทองหรือพวกผลไมที่มีรสหวาน เชน ทุเรียน ลําไย เปนตน
                         4.  อาหารที่ควรรับประทาน ไดแก โปรตีน เชน ไก, ปู, ปลา, กุง, เนื้อ, หมู และโปรตีนจากพืช เชน

                  ถั่ว, เตาหู นอกจากนี้ ควรรับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆ เชน ขาวซอมมือ, ถั่วฝกยาว, ถั่วแขก ตลอดจน

                  ผักทุกชนิดในคนไขเบาหวานที่อวนมากๆ  หรืออาหารทอด ลดไขมันจากสัตวและพืชบางชนิด เชน กะทิ,
                  น้ํามันมะพราว, น้ํามันปาลม

                    การจัดการอาหารสําหรับผูปวยไตวายเรื้อรัง

                         1.  อาหารโปรตีนต่ํา 40 กรัมโปรตีนตอวัน รวมกับเสริมกรดอะมิโนจําเปน 9 ชนิด หรืออาหาร

                  โปรตีนสูง 60 – 75 กรัมโปรตีนตอวัน
                         2.  พยายามใชไขขาว และปลาเปนแหลงอาหารโปรตีน

                         3.  หลีกเลี่ยงเครื่องในสัตว

                         4.  หลีกเลี่ยงไขมันสัตว และกะทิ
                         5.  งดอาหารเค็ม จํากัดน้ํา

                         6.  งดผลไม ยกเวนเชาวันฟอกเลือด

                         7.  งดอาหารที่มีฟอสเฟตสูง เชน เมล็ดพืช นมสด เนย ไขแดง
                    การจัดอาหารสําหรับผูปวยโรคมะเร็ง

                         เนื่องจากมะเร็งเปนเนื้องอกรายที่เกิดในเนื้อเยื่อหรือเซลลของอวัยวะตางๆ อาการที่เกิดขึ้นโดยทั่วๆ

                  ไปคือจะเบื่ออาหารและน้ําหนักตัวลด แตถาเกิดขึ้นในหลอดอาหาร กระเพาะ หรือลําไส ก็จะมีปญหาในการ

                  กินไดมากกวามะเร็งในอวัยวะอื่นๆ เมื่อไดรับการวินิจฉัยแลว ผูปวยควรรับการรักษาจากแพทยที่ชํานาญดาน
                  มะเร็งและควรปรับจิตใจใหยอมรับวาตองการเวลาในการรักษา ซึ่งอาจใชเวลานานและตอเนื่อง การกิน

                  อาหารที่ถูกตองจะชวยเสริมการรักษามะเร็ง และทําใหภาวะโภชนาการที่ดี ถาระบบทางเดินอาหารเปนปกติ

                  ควรเนนการกินขาวซอมมือเปนประจํา ควบคูกับการกินปลา และพืชผักผลไมเปนประจํา โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                  มะเขือเทศ ผักสีเขียว มะละกอสุก ฝรั่ง เปนตน เพิ่มการกินอาหารที่มาจากถั่ว โดยเฉพาะถั่วเหลือง เชน
                  ถั่วงอกหัวโต เตาหูขาว และนมถั่วเหลือง เปนตน ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน อาหารผัด ทอด การปรุง

                  อาหารควรเนนการตม ตุน หรือนึ่ง ในกรณีที่ผูปวยมะเร็งไมสามารถกินอาหารไดอยางปกติ อาจจะตองใช

                  อาหารทางการแพทยหรืออาหารที่ตองใหทางสายยาง ในกรณีเชนนี้ผูปวยหรือญาติควรปรึกษาแพทยหรือนัก
                  กําหนดอาหาร เพื่อทําความเขาใจ ศึกษาเอกสารเพื่อใหเขาใจยิ่งขึ้น จะไดนําไปปฏิบัติไดอยางเหมาะสมตอไป
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73