Page 52 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 52
51
5 . 2 . 2 . 3 ก ำ ร จั ด แ ผ น ง ำ น แ บ บ แ ม ท ริ ก ซ์ ( Matrix
departmentalization) เป็นการจัดแผนงานแบบผสมผสานระหว่างโครงสร้างของ
หน่วยงานแบบโครงสร้างกับโครงสร้างองค์กรแบบหน้าที่ เข้าด้วยกัน สืบเนื่องจากการจัด
แผนงานแบบดั้งเดิมไม่สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโลก ในยุคปัจจุบันได้
ทัน ดังนั้นวัตถุประสงค์หลักขององค์กรแบบแมทริกซ์คือ การพยายามท าให้ธุรกิจได้ประโยชน์
กำรจัดองค์กรใหม่ทั้งองค์กร ซึ่งการน าวิธีการจัดแผนงานแบบนี้ไปใช้กับการ
ออกแบบองค์กรก่อให้ หรือแมทริกซ์ของทิศทาง 2 ทิศทาง คือทิศทางด้านแนวนอนหมายถึง
อ านาจหน้าที่และความ ตามการจัดหน่วยงานแบบโครงการ ในขณะทิศทางด้านแนวดิ่งเป็น
อ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามโครงสร้างองค์กรแบบหน้าที่ที่มีอยู่เดิม
6. กำรก ำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงำน
หลังจำกที่องค์กรได้ท ำกำรออกแบบและการจัดแผนงานเสร็จสิ้นแล้ว
กระบวนการต่อมาคือ การก าหนดความสัมพันธ์ระหว่างงานหรือต าแหน่งต่าง ๆ และกลุ่มคน
ผู้ปฏิบัติงานตามต าแหน่งนั้น ๆ ซึ่งพิจารณา ความสัมพันธ์ในลักษณะที่เป็นทางการตาม
โครงสร้างแบบองค์กรที่เป็นทางการจากหลักเกณฑ์ 2 ประการด้วยกัน สายบังคับบัญชา และ
ขนาดของการบริหารหรือขนาดของการควบคุม ซึ่งมีสาระส าคัญดังนี้ :
6.1 สำยบังคับบัญชำ (Chain of command) สายบังคับบัญชาเป็น
แนวคิดเก่าในระยะ ต้น ๆ ศตวรรษที่ 20 หมายถึง การแตกทิศทางของอ านาจหน้าที่จาก
ระดับบนลงมาล่างขององค์กร ซึ่งจ าเป็น ต้องก าหนดให้ชัดเจนระหว่างต าแหน่งต่าง ๆ ทั้งหมด
เพื่อให้รู้ว่าใครขึ้นต่อใครในองค์กรสามัย มีส่วนประกอบที่ส าคัญ 2 ส่วน คือ
6.1.1 เอกภำพสำยบังคับบัญชำ (Unity of Command) คือ หลักการ
ที่ว่าด้วยการมี ผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว เพื่อความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชาสั่งการ
บางครั้งนิยมใช้ค าว่า “One man Game boss” มาใช้แทนเพื่อให้มองเห็นภาพของการ
บังคับบัญชาที่ดี ที่จะไม่ท าให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องสับสนว่า ตนเองต้องรายงานผลการปฏิบัติงาน
หรือต้องคอยรับค าสั่งจากผู้บังคับบัญชาผู้ใด
6.1.2 กำรลดหลั่นของสำยบังคับบัญชำ (Scalar principle) คือ
หลักการที่ชี้ให้เห็นถึง อ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบควรกระจายจากผู้บริหารระดับสูงไปยัง
ผู้บริหารระดับล่างลงไปตามสายการ บังคับบัญชาค ากล่าวที่ว่า “The buck stops
here” มีพื้นฐานมาจากหลักการสายบังคับบัญชาหมายถึง ปัญหาสามารถหยุดยั้งหรือได้รับ
การแก้ไขตามระดับต่าง ๆ ของสายบังคับบัญชาหากมีการกระจายอ านาจหน้าที่และความ
รับผิดชอบที่พอดี