Page 55 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 55
54
ในแผนกงานเหล่านั้นให้บรรลุเป้าหมายของการประสานงานมาจากพื้นฐานของแนวคิด ที่เรียกว่า
“การประสานงาน” เหตุผลและความจ าเป็นของการประสานงานมาจากพื้นฐานของแนวคิดที่ว่า
หน่วยงานต่างๆ ในองค์กรและกลุ่มบุคคลจะต้องพึ่งพากันทั้งในเรื่องข้อมูลและข่าวสารและ
ทรัพยากรร่วมกันใน
6.4.1 จัดตั้งบุคคลท ำหน้ำที่ในกำร ประสานงานในหน่วยงานโดยมีโครงสร้าง
ขององค์กร เมื่อแบ่งเป็นแผนกงานหรือหน่วยงานต่าง ๆ ในแต่ละ หน่วยงานอาจมีกลุ่มคนท างาน
จ านวนมาก ซึ่งจ าเป็น ต้องใช้ข้อมูลและทรัพยากรร่วมกันองค์กรจึงรับ มอบหมายให้ผู้บริหาร
หน่วยงานเป็นผู้ประสานงานใน หน่วยงานของตนเอง
และประสานงานกับหน่วยงาน ภายนอก อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารหน่วยงานอาจแต่งตั้ง บุคคล
หนึ่งบุคคลใดในหน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านการประสานงานนี้แทนก็ได้
6.4.2 ก ำหนดกฎและระเบียบวิธีปฏิบัติกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นงานประจ าซึ่ง
ต้องการ ประสานงานกันอาจก าหนดให้มีกฎหรือระเบียบวิธีการปฏิบัติมาตรฐานขึ้นมา เพื่อเป็น
แนวทางในการด าเนินงาน ของหน่วยงานต่างๆโดยไม่จ าเป็นต้องแต่งตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็น
ผู้ประสานงาน
6.4.3 ก ำหนดบทบำทของกำรประสำนงำน ผู้ประสานงานต้องแสดงบทบาทใน
การ ติดต่อประสานงานในจุดที่ร่วมกันได้เท่านั้น เพราะการประสานงานเป็นเพียงงานสนับสนุน
อาจไม่มีอ านาจหน้าที่ เหมือนหน่วยงานอื่น เป็นแต่ผู้อ านวยความ
สะดวกด้านข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วย ผู้ท าหน้าที่จึงควร
สร้างความสนิทสนมคุ้นเคยที่ดีกับผู้บริหารหน่วยงานอื่น
ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผู้ซึ่ง เหมาะที่ท าหน้า
ที่ในต าแหน่งประสานงานมากที่สุดคือ สุภาพสตรี เนื่อง
จากบทบาทที่แสดงออกมักมีความ อ่อนโยนและนิ่มนวล คณะกรมการท าหน้าที่ประสานงาน
สามารถช่วยให้การประสานงานเป็นไปอย่างราบรื่น รวมทั้งความสามารถในการตอบ ค าถามและ
การให้บริการด้านอื่น ๆ ในการประสานกิจกรรมของกลุ่มต่าง ๆ ในองค์กรเป็นไปอย่างดีเยี่ยม
6.4.4 จัดตั้งคณะกรรมกำรประสำนงำน เมื่อสถานการณ์ที่เป็นอยู่มีความ
สลับซับซ้อน และมีหน่วยงานที่ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยจ านวนมาก ซึ่งเกินกว่าความสามารถ
ของคน ๆ เดียวที่ท าหน้าที่ ประสานงานได้ กลุ่มคณะกรรมการอาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจาก
หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร และเมื่อโครงการ ต้องการประสานงานส าเร็จลุล่วงแล้ว สมาชิกใน
กลุ่มคณะกรรมการเหล่านั้นก็กลับไปปฏิบัติงานในหน่วยงาน เดิมของพวกเขา เช่น