Page 95 - e-Book Cold Chain
P. 95
88
ื่
โดยเริ่มต้นในระดับแปลงที่เกษตรกรจะใช้สปริงเกอร์ฉีดน้ าให้กับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวแล้ว เพอให้ผลผลิตฉ่ าน้ า
่
ตลอดเวลา และขนส่งใส่รถพวงเสริมข้างหลังประมาณ 8 ตะกร้า/รอบ ไปยังจุดรวบรวมของสวน
เมื่อผลผลิตเต็มคันรถกระบะ 100 ตะกร้า/คัน จึงทยอยขนส่งไปยังสถาบันเกษตรกร
ุ
ในส่วนของสถาบันเกษตรกร มีการจัดการโซ่ความเย็น ณ อณหภูมิปกติ ด้วยวิธีลดอณหภูมิ
ุ
โดยใช้น้ าและน้ าแข็ง (Hydro Cooling) รวมถึงมีวิธีการบรรจุและใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสม ซึ่งมีลักษณะ
เป็นตะกร้า ที่มีช่องระบายอากาศ มีใบตองวางก้นตะกร้าและรอบทั้งสี่ด้าน มีฟองน้ าชุบน้ าเย็นวางด้านบน
ผลผลิต ทั้งนี้ สถาบันเกษตรให้ความเห็นว่า การจัดการโซ่ความเย็นให้กับผลผลิตในรูปแบบดังกล่าว สามารถกัก
เก็บความชื้น/ป้องกันผลผลิตเหี่ยว/สภาพเปลือกไม่สวยสามารถลดปัญหาการสูญเสียน้ าหนัก ซึ่งจะท าให้
ิ่
สามารถสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าและเพมยอดขายได้อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการรวบรวมผลผลิตและการ
ขนส่งมีอัตราความสูญเสีย ร้อยละ 1 ซึ่งเป็นการสูญเสียน้ าหนักตามธรรมชาติ
แผนภาพ 4-13 แสดงวิถีตลาดสินค้าเงาะ
ล้ง/
ผู้ส่งออก ผู้บริโภค
ห้องเย็น/โรงงาน ต่างป
แปรรูป
ระเทศ
สถาบัน ห้างค้าปลีก/
เกษตรกร เกษตร ค้าส่ง
กร สมัยใหม่ ผู้บริโภค
ใน
ตลาดไท/ ประเ
ทศ
ตลาดสี่มุมเมือง
ที่มา : จากการส ารวจ
5) มะม่วง
ในการรวบรวมผลผลิตและการขนส่งผลผลิตมะม่วงของสถาบันเกษตรกร หลังจากผลผลิต
มาถึงยังจุดรวบรวม สถาบันฯ จะท าการชั่งน้ าหนัก ท าการคัดแยก/ตรวจสอบคุณภาพผลผลิต ผลผลิตมะม่วงมี
การจัดการคุณภาพหลายรูปแบบ คือ การน ามาอบไอน้ าเพอฆ่าเชื้อโรคและไข่แมลงวันทอง หลังจากนั้นจึงจะ
ื่
บรรจุลงกล่อง และแช่เย็น ณ อุณหภูมิ 8 - 9 องศาเซลเซียส บางส่วนใช้เก็บผลผลิตในช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาด
ื่
ุ
มากจนท าให้ราคาตกต่ าชะลอการออกสู่ตลาด ณ อณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส เพอไม่ให้เกษตรกรสมาชิกได้รับ
ื
ิ
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ึ
้
ิ
่
้