Page 39 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 39
25
2) นอนเป็น การนอนมีความส าคัญต่อสุขภาพ การนอนหลับเต็มที่ และเพียงพอจะ
ท าให้ตื่นขึ้นมาท างาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จ านวนชั่วโมงการนอนหลับขึ้นอยู่กับความเพียงพอของ
ร่างกาย ของแต่ละคน ไม่มีก าหนดมาตรฐานแน่นอนว่า เป็น 8 หรือ 10 ชั่วโมง แต่ผู้สูงอายุอาจ
จ าเป็นต้องงีบหลับตอนกลางวันบ้าง จะช่วยให้กระปรี้กระเปร่า และร่างกายมีความพร้อม
3) อยู่เป็น การอยู่เป็น นอกจากจะหมายถึงการรู้จักรักษาสุขวิทยาที่ดี และยัง
หมายถึงการรู้จักออกก าลังกายสม่ าเสมอ เพื่อให้ร่างกายมีความตื่นตัวและคงความสดชื่น การหัดให้มี
อารมณ์ดีจิตใจแจ่มใส มองโลกแง่ดี มีการพักผ่อนที่เหมาะสม การอยู่ไม่เป็นคือการอยู่อย่างตามใจ ไม่
ออกก าลังกาย เป็นการท าลายสุขภาพ สังคมเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมตามวัยและโลก
รอบตัว การยอมรับตัวเองจะท าให้การปรับตัวดีขึ้น สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ข้อส าคัญ
อย่าไปคาดหวังจากสังคมมากเกินไป
4) กินเป็น นอนเป็น อยู่เป็น และสังคมเป็น มิได้ใช้เฉพาะในช่วงหนึ่งช่วงใดของ
ชีวิตเท่านั้น ต้องปฏิบัติอย่างสม่ าเสมอ และสนใจให้มากขึ้น เมื่อมีอายุหากท าได้ เมื่อสูงวัยก็จะเป็นผู้มี
อายุที่สุขภาพดีตามเกณฑ์ ดังนี้
- มีลักษณะของผู้ที่ไดรับโภชนาการถูกต้อง
- ร่างกายสมบูรณ์ สามารถท ากิจกรรมต่างๆที่ต้องการในชีวิตประจ าวันได้
- ยังคงมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นปกติ
- ความสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และสามารถใช้ชีวิตได้อย่างอิสระ
- มีสภาพอารมณ์ และจิตใจดี
8 การดูแลสุขภาพ
การมีอายุเกิดขึ้นทั้งในตัวบุคคลสิ่งแวดล้อมของคนๆ นั้น มิได้เกิดที่จุดใดจุดหนึ่งของ
ร่างกาย แต่เกิดขึ้นกับทุกระบบของร่างกาย อัตราการแก่ไว หรือช้าขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ์ ความเครียด
ความเจ็บป่วย วิธีการด าเนินชีวิตของคนๆ นั้น บางคนอาจดูแก่กว่าอายุ ถ้าร่างกายท างานหนัก แต่
บางคนอาจรักษาความเป็นหนุ่มสาวได้นานกว่า ถ้าคนนั้นเข้าใจดูแลตนเองที่เหมาะสม
การใช้ชีวิตอย่างฉลาดเป็นความสามารถของผู้มีปัญญา สุขภาพดีหาซื้อไม่ได้ ต้องดูแลด้วย
ตนเอง การลดโอกาสการเป็นโรคและรักษาคุณภาพชีวิต เป็นหน้าที่ของผู้ที่ต้องการมีอายุยืน
ปัจจัยหลักของการดูแลสุขภาพที่ดี คือ
- น้ าหนัก
- การกิน
- การพักผ่อน
- การขับถ่าย
- การออกก าลังกาย
- การงดเว้นสิ่งเกิดโทษต่อร่างกาย
- การนอนหลับ