Page 33 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 33
กระดุมทองเลื้อย กระดูกไก่ สารานุกรมพืชในประเทศไทย กระดูกไก่ดุม
Sphagneticola trilobata (L.) Pruski Euonymus indicus B. Heyne ex Wall.
วงศ์ Asteraceae วงศ์ Celastraceae
ชื่อพ้อง Silphium trilobatum L., Wedelia trilobata (L.) Hitchc. ชื่อพ้อง Euonymus javanicus Blume
ไม้ล้มลุกทอดนอน มีขนสั้นแข็งกระจาย ใบเรียงตรงข้ำม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนำน หรือแกม
ยำว 3-10.5 ซม. ส่วนมากจัก 3 พู ขอบจัก เส้นแขนงใบเส้นล่างยาวและนูนชัด รูปไข่กลับ ยำว 5-20 ซม. ขอบเรียบหรือจักช่วงปลาย ก้ำนใบยำว 5-8 มม. ดอกออก
ก้ำนใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นออกเดี่ยว ๆ ตำมซอกใบ เส้นผ่ำนศูนย์กลำง เดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ไม่แยกแขนง ใบประดับขนำดเล็กจักชำยครุย
2-2.5 ซม. ก้ำนช่อยำวได้ถึง 14 ซม. วงใบประดับสีเขียว 12-15 ใบ เรียง 2 ชั้น ก้ำนดอกยำว 0.5-2 ซม. กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�ำนวนอย่ำงละ 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
ดอกวงนอกเพศเมีย รูปลิ้น ยำว 1-1.5 ซม. ปลายจัก 3 พูตื้น ๆ วงในสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงรูปไข่หรือรูปคล้ำยไต ขนำดไม่เท่ำกัน กว้ำง 1.5-6 มม. ดอกสีเหลือง
กลีบเชื่อมติด ยำว 4.5-5.5 มม. ปลายจัก 5 พู เกสรเพศผู้ 5 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ อมเขียวหรือชมพู โคนกลีบด้านในมักมีปื้นแดง กลีบรูปไข่กลับ กว้ำง 3.5-6.5 มม.
ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน สีด�ำ ยำวประมำณ 3 มม. ผิวมีตุ่ม ขอบจักชายครุย จานฐานดอกคล้ายเบาะ เกสรเพศผู้ 5 อัน ยำวประมำณ 2.5 มม.
แพปพัสคล้ายเกล็ด รังไข่มี 5 ช่อง ผลแห้งแตกรูปไข่กลับกว้าง จัก 5 พู ยำว 2-3.5 ซม. ปลำยเป็นจะงอย
มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำกลำงและเม็กซิโก เป็นไม้ประดับคลุมดิน มี 1-2 เมล็ดในแต่ละช่อง โคนเมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้ม
พบที่อินเดีย พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ ชวำ บอร์เนียว
สกุล Sphagneticola O. Hoffm. มี 4 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน ชื่อสกุล ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทุกภำค ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง ป่ำดิบเขำ และป่ำดิบชื้น
มาจากภาษาละติน “sphagnos” มอสชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม อาจหมายถึงพืชที่ ควำมสูงถึงประมำณ 1500 เมตร
ขึ้นคลุมดินคล้ายพวกมอส สกุล Euonymus Tourn. ex L. มีประมาณ 130 ชนิด พบที่อเมริกาเหนือ มาดากัสการ์
เอกสารอ้างอิง ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษากรีก “euonymon
Strother, J.L. (2006). Asteraceae (Sphagneticola). In Flora of North America dendron” หมายถึงต้นไม้ที่มีชื่อดี
Vol. 21: 126. http://www.efloras.org
เอกสารอ้างอิง
Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
Thailand Vol. 10(2): 160.
กระดุมทองเลื้อย: ใบจักเป็นพู ขอบจักซี่ฟัน ช่อกระจุกแน่น กลีบดอกวงนอก รูปลิ้น ปลำยจัก 3 พูตื้น ๆ (ภำพ:
cultivated - RP)
กระดูกไก่: ใบเรียงตรงข้ำม ผลแห้งแตก รูปไข่กลับกว้ำง จักเป็นพู ปลำยเป็นจะงอย โคนเมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้ม (ภำพ:
กระดุมไพลิน แก่งกระจำน เพชรบุรี - PK)
Centratherum punctatum Cass.
วงศ์ Asteraceae กระดูกไก่ดุม
ไม้ล้มลุก สูง 10-50 ซม. มีขนสั้นนุ่มตำมล�ำต้นและใบ ใบเรียงเวียน ยำว Breynia discigera Müll. Arg.
2.5-8 ซม. ขอบจักซี่ฟันสองชั้น เส้นแขนงใบข้ำงละ 5-8 เส้น ก้ำนใบยำว 0.5-1 ซม. วงศ์ Phyllanthaceae
มีครีบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง เส้นผ่ำนศูนย์กลำง ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย สูงได้ถึง 5 ม. กิ่งและใบมีขนหนาแน่น ใบเรียงสลับระนำบเดียว
2-8 ซม. ก้ำนช่อยำว 5-8 ซม. วงใบประดับชั้นนอกคล้ายใบ ไม่มีดอกย่อย ชั้นใน รูปรีหรือรูปไข่ ยำว 1.3-5 ซม. ด้ำนล่ำงมีนวล ก้ำนใบยำว 1-3 มม. ดอกเพศผู้อยู่
สีเขียวมีแต้มสีม่วงแดง รูปขอบขนำน ยำว 0.5-1 ซม. ดอกสีม่วง ดอกย่อยวงในยำว ช่วงโคนกิ่ง ก้ำนดอกยำว 0.5-3 มม. กลีบเลี้ยงสีชมพูอมน�้ำตำล ยำวประมำณ
0.9-1.4 ซม. วงกลีบดอกเชื่อมติดเป็นหลอด ด้ำนในมีขน มี 5 แฉกรูปขอบขนำน 1.7 มม. จักตื้น ๆ เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันประมำณ 1 มม. ดอกเพศเมียก้ำนดอกยำว
เกสรเพศผู้ 5 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน 0.5-1.5 มม. กลีบเลี้ยงยำว 1.5-2 มม. ขยำยในผล ด้านนอกมีขน รังไข่มีขน ผลกลม
ยำว 3-5 มม. มีสันตำมยำว แพปพัสเป็นขนคล้ายหนามจ�านวนมาก ยาว 1-3 มม. เส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 มม. ปลายมีกะบัง สุกสีแดง เมล็ดยำวประมำณ 4 มม.
มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำเขตร้อน เป็นไม้ประดับและวัชพืช น�้ำมันที่สกัดจำกใบ เยื่อหุ้มสีส้ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ครำมน�้ำ, สกุล)
เป็นยำปฏิชีวนะ พบที่คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ และภำคใต้ของไทย ขึ้นตำมป่ำชำยหำด ชำย
ป่ำดิบชื้น หรือป่ำเสื่อมโทรม ควำมสูงไม่เกิน 300 เมตร ใบใช้ประคบบรรเทำโรคไต
สกุล Centratherum Cass. มี 4 ชนิด พบในอเมริกา ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ
แปซิฟิก ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kentron” หนาม และ “ather” ขนเครา ตาม เอกสารอ้างอิง
ลักษณะแพปพัส van Welzen, P.C. and H.-J. Esser. (2005). Euphorbiaceae (Breynia). In Flora of
Thailand Vol. 8(1): 134-136.
เอกสารอ้างอิง
Strother, J.L. (2006). Asteraceae (Centratherum). In Flora of North America
Vol. 21: 206. http://www.efloras.org
กระดูกไก่ดุม: ใบเรียงสลับระนำบเดียว ดอกเพศผู้ติดช่วงโคนกิ่ง ก้ำนดอกยำว ดอกเพศเมียก้ำนดอกสั้น ปลำยผลมี
กระดุมไพลิน: ขอบใบจักซี่ฟันสองชั้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น แพปพัสคล้ำยหนำม (ภำพ: cultivated - MP) กะบัง กลีบเลี้ยงขยำยในผล (ภำพ: สิงหนคร สงขลำ - RP)
13
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 13 3/1/16 5:22 PM