Page 38 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 38
กระโถนนางสีดา
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ใกล้โคนหรือใต้จุดกึ่งกลาง ใบประกอบย่อย 8-11 คู่ ยำว 1-4 ซม. มีต่อมที่รอยต่อ กระโถนฤาษี, สกุล
ใบประกอบย่อยคู่ที่ 4-6 ก้ำนใบประกอบย่อยสั้น ใบย่อยมี 17-44 คู่ รูปขอบขนำน Sapria Griff.
เบี้ยว ยำว 2.5-5.5 มม. ปลำยมีติ่งแหลม โคนตัด ไร้ก้ำน ช่อดอกสีขาวออกเดี่ยว ๆ วงศ์ Rafflesiaceae
เป็นคู่ หรือแยกแขนงตามกิ่งสั้น ๆ ด้านข้าง ใบประดับย่อยขนำดเล็กรูปใบพำย
กลีบเลี้ยงยำวประมำณ 2 มม. กลีบดอกยำว 2.5-3 มม. รังไข่มีขนคล้ำยก�ำมะหยี่ พืชเบียนรากของพืชอื่น อวบน�้ำ มีโครงสร้างพิเศษคล้ายเส้นใยของเห็ดรา
ผลเป็นฝัก แบน กว้ำงประมำณ 2 ซม. ม้วนงอชิดกัน เมล็ดรูปรี ยำวประมำณ 6 มม. แทงเนื้อเยื่อเข้าไปในรากของพืชอาศัย ตาดอกพัฒนาอยู่ในพืชอาศัย ดอกตูมโผล่
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ส้มป่อย, สกุล) เหนือพื้นดิน ใบประดับหุ้มตาดอก ใบลดรูปเป็นกาบ ดอกมีเพศเดียว ดอกบำน
พบที่กัมพูชำ ในไทยพบทำงภำคเหนือตอนล่ำงที่นครสวรรค์ ภำคกลำงที่ มีกลิ่นเหม็น กลีบรวมเชื่อมติดกันที่โคนคล้ำยกระโถน มี 10 กลีบ กลีบเรียงซ้อนเหลื่อม
อ่ำงทอง ภำคตะวันออกที่อุบลรำชธำนี และภำคตะวันตกเฉียงใต้ที่กำญจนบุรี ขึ้น คล้ายเรียง 2 วง วงในขนำดเล็กกว่ำ มีแผ่นคล้ายกะบังรอบเป็นวง ด้านบนมี
ตำมชำยป่ำหรือแหล่งน�้ำ ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ แผ่นรูปเส้นด้ายคล้ายเกล็ดหนาแน่น (ramenta) มีช่องเปิดกว้ำง เส้ำเกสรรองรับ
จำนฐำนดอกรูปถ้วย ในดอกเพศเมียเส้นผ่ำนศูนย์กลำงมำกกว่ำและสูงกว่ำในดอกเพศผู้
เอกสารอ้างอิง ขอบเป็นสัน จำนฐำนดอกมีขนรูปเส้นด้ำยหนำแน่น เกสรเพศผู้ 20 อัน ไร้ก้าน
Maslin, B.R. (2015). Synoptic overview of Acacia sensu lato (Leguminosae: เรียงชิดกันบนเส้าเกสรใต้จานฐานดอก ปลายอับเรณูมีรูเปิด ลดรูปในดอกเพศเมีย
Mimosoideae) in East and Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore เกสรเพศเมียติดรอบจำนฐำนดอก รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว พลาเซนตาตาม
67(1): 246.
Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Acacia thailandica). In Flora of แนวตะเข็บไม่สม�่าเสมอ ออวุลจ�ำนวนมำก ผลรูปกลม
Thailand Vol. 4(2): 172-174.
สกุล Sapria มี 3 ชนิด พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ชื่อสกุลมา
จากภาษากรีก “sapros” เน่าเปื่อย หมายถึงพืชที่ชอบขึ้นตามซากพืช อนึ่ง วงศ์
Rafflesiaceae มี 3 สกุล Rafflesia, Rhizanthes และ Sapria มี 6 ชนิด ส่วนสกุล
Mitrastemon ปัจจุบันอยู่ภายใต้วงศ์ Mitrastemonaceae มี 2 ชนิด ในไทยมี
ชนิดเดียวคือ M. yamamotoi Makino พบที่ภูกระดึง จังหวัดเลย
กระโถนฤๅษี
Sapria himalayana Griff.
พืชเบียน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-20 ซม. วงกลีบรวมสีแดง มีตุ่มหรือ
กระถินเหนือ: ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งมีหนำม ใบประกอบ 2 ชั้น ใบย่อยจ�ำนวนมำก ฝักแบน ม้วนงอชิดกันแน่น (ภำพ: จุดสีเหลืองกระจายทั่วแผ่นกลีบ หลอดกลีบยำว 6-8 ซม. กลีบรูปสำมเหลี่ยมกว้ำง
อุบลรำชธำนี - NT) ปลำยมน ยำว 6-8 ซม. กว้ำง 4-6 ซม. แผ่นคล้ำยกะบังกว้ำง ด้านบนมีแผ่นรูปเส้นด้าย
กระโถนนางสีดา จักเป็นพูหนาแน่น ปลายแผ่ออก ยำวได้ถึง 1 ซม. ช่องเปิดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง
1.8-3.7 ซม. จำนฐำนดอกกว้ำง 3-5 ซม. ช่วงล่ำงมีขนหนำแน่น คอหลอดกลีบสีแดง
Sapria poilanei Gagnep. อมม่วง ด้านในมีสันเป็นร่องกว้าง
พืชเบียน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5-12 ซม. หลอดกลีบสูง 5-7 ซม. พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่ำ เวียดนำม และกัมพูชำ ในไทยพบทำงภำคเหนือ
กลีบรวมสีม่วงอมแดงหรืออมน�้ำตำล รูปสำมเหลี่ยมกว้ำง วงนอกยำว 2.7-3.8 ซม. ที่เชียงใหม่ ตำก และภำคใต้ที่ระนอง สุรำษฎร์ธำนี ส่วนมำกเบียนรำกพืชสกุล
วงในยำว 2.2-3.2 ซม. แคบกว่ำวงนอก มีตุ่มและจุดสีขาวกระจาย แผ่นคล้ำย Tetrastigma หลำยชนิด ขึ้นตำมป่ำดิบเขำ ควำมสูง 800-1200 เมตร ชื่อสำมัญคือ
กะบังด้ำนบนสีขำวหรืออมเหลือง กว้ำง 0.9-1.5 ซม. ช่วงกลำงมีแผ่นคล้ำยเกล็ด Hermit’s spittoon มีต้นที่มีจุดสีขำว เป็น forma albovinosa Bänziger &
รูปเส้นด้ำยหนำแน่น ช่องเปิดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1.5-2.5 ซม. กว้ำงกว่ำจำนฐำนดอก B. Hansen พบที่ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
ในดอกเพศผู้ กว้ำงเท่ำ ๆ จำนฐำนดอกในดอกเพศเมีย ด้ำนบนจำนฐำนดอกมีขน
รูปเส้นด้ำยยำวประมำณ 1.5 มม. อับเรณูเรียงสองแถวคล้ำยท่อนูน คอหลอดกลีบ เอกสารอ้างอิง
มีเม็ดเล็ก ๆ สีแดงอมม่วง ชมพู หรือขาว ด้านในมีสันเป็นริ้ว ด้านกว้างยาวกว่า Bänziger, H. and B. Hansen. (1997). Unmasking the real identity of Sapria
ความสูงของริ้ว poilanei Gagnepain emend., and description of Sapria ram sp. n. (Raffle-
siaceae). Natural History Bulletin of the Siam Society 45: 149-170.
พบที่กัมพูชำ และภำคตะวันออกเฉียงใต้ของไทยที่จันทบุรี ขึ้นเบียนรำกต้น Bänziger, H., B. Hansen and K. Kreetiyutanont. (2000). A new form of the
Tetrastigma laoticum Gagnep. ในป่ำดิบเขำ ควำมสูง 1200-1400 เมตร ชื่อ hermit’s spittoon, Sapria himalayana Griffith f. albovinosa Bänziger & B.
สำมัญคือ Sida’s spittoon Hansen f. nov. (Rafflesiaceae), with notes on its ecology. Natural History
Bulletin of the Siam Society 48: 213-219.
Hansen, B. (1972). Rafflesiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 182-184.
กระโถนพระราม
Sapria ram Bänziger & B. Hansen
พืชเบียน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.5-11 ซม. หลอดกลีบสูง 6-8 ซม.
กลีบรวมสีม่วงอมแดง รูปสำมเหลี่ยมกว้ำง วงนอกยำว 2-4 ซม. วงในแคบกว่ำ ช่วงโคน
มีตุ่มและจุดสีขาว ชมพู หรือม่วงกระจาย แผ่นคล้ำยกะบังด้ำนบนสีขำวหรืออมเหลือง
กว้ำง 0.8-1.8 ซม. แผ่นรูปเส้นด้ำยคล้ำยเกล็ด ยำวได้ถึง 5 มม. มีปุ่มประปรำย
ช่องเปิดกว้ำง 1.3-3 ซม. เท่ำ ๆ จำนฐำนดอกในดอกเพศเมีย กว้ำงกว่ำจำนฐำนดอก
ในดอกเพศผู้ เส้ำเกสรสูงประมำณ 2 ซม. ในดอกเพศผู้กว้ำงประมำณ 5 มม. ใน
ดอกเพศเมียกว้ำงประมำณ 1 ซม. จำนฐำนดอกสีม่วงอมแดง ชมพู หรือมีจุดสีขำว
ตรงกลำง มีขนรูปเส้นด้ำยหนำแน่น ยำวประมำณ 2 มม. คอหลอดกลีบสีเข้ม มี
เม็ดเล็ก ๆ กระจำย ด้านในมีสันเป็นริ้ว สูงกว่าความกว้างริ้ว
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทำงภำคเหนือที่ตำก ภำคตะวันตกเฉียงใต้ที่กำญจนบุรี
และภำคใต้ที่ระนอง พังงำ และสุรำษฎร์ธำนี ขึ้นเบียนรำกต้น Tetrastigma
harmandii Planch. ในป่ำดิบแล้ง ควำมสูง 100-750 เมตร ชื่อสำมัญคือ Rama’s กระโถนนางสีดา: ถิ่นที่อยู่เบียนรำกพืชอื่น ดอกแห้งสีด�ำ กลีบดอก 10 กลีบ มีตุ่มและจุดสีขำวกระจำย ดอกเพศผู้
spittoon (ภำพขวำบน) ดอกเพศเมีย (ภำพขวำล่ำง) (ภำพ: เขำสอยดำว จันทบุรี - HB)
18
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 18 3/1/16 5:23 PM