Page 43 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 43

สกุล Scorodocarpus Becc. มีเพียงชนิดเดียว บางข้อมูลให้อยู่ภายใต้วงศ์   กระบก  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กระบกกรัง
                       Olacaceae ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “skorodon” กระเทียม และ “karpos” ผล   Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn.
                       หมายถึงผลที่มีกลิ่นคล้ายกระเทียม
                                                                        วงศ์ Irvingiaceae
                      เอกสารอ้างอิง
                       Sleumer, H. (1984). Olacaceae. In Flora Malesiana Vol. 10: 15-17.  ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ หูใบเรียวยาวหุ้มยอด ยำว
                                                                        1.5-3 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนำน หรือแกมรูปไข่ ยำว 3-20 ซม.
                                                                        โคนเบี้ยวเล็กน้อย เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันไดกึ่งร่างแหละเอียด ก้ำนใบยำว
                                                                        0.5-2 ซม. เป็นสันด้านบน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยำว 5-15 ซม. ใบประดับ
                                                                        รูปไข่ขนำดเล็ก ก้ำนดอกยำว 1-3 มม. ดอกสีขำวอมเขียว กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                                                                        อย่ำงละ 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบเลี้ยงยำวประมำณ 1 มม. กลีบดอกยำว
                                                                        กว่ำเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้ำนชูอับเรณูยำวประมำณ 3 มม. จำนฐำนดอก
                                                                        รูปเบำะ ขอบจักตื้น ๆ รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละคำร์เพลมีออวุล 1 เม็ด ผลรูปรีหรือ
                                                                        รูปไข่ ยำว 3-6 ซม. ผนังชั้นนอกเป็นเส้นใย ผนังชั้นในแข็งหนาประมาณ 5 มม.
                                                                           พบในอินเดีย พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ และบอร์เนียว
                                                                        ในไทยพบทุกภำค ควำมสูงถึงประมำณ 1500 เมตร ไม้ท�ำถ่ำนให้ควำมร้อนสูง
                                                                        เมล็ดให้น�้ำมันใช้ในอุตสำหกรรมท�ำสบู่และเทียนไข น�ำไปคั่วรับประทำนได้

                                                                           สกุล Irvingia Hook. f. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Simaroubaceae หรือ Ixonanthaceae
                                                                           มีประมาณ 7 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
                      กระเทียมต้น: ใบเรียงเวียน แผ่นใบเขียวเป็นมันด้ำนบน ผลแบบผนังชั้นในแข็ง ก้ำนผลหนำ (ภำพ: บันนังสตำ   ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามศัลยแพทย์และนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์
                    ยะลำ - RP)
                                                                           Edward George Irving (1816-1855)
                    กระเทียมเถา                                           เอกสารอ้างอิง
                    Mansoa hymenaea (DC.) A. H. Gentry                     Nooteboom, H.P. (1972). Simaroubaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 223-226
                    วงศ์ Bignoniaceae                                      Phengklai, C. (1981). Irvingiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 398-399.
                      ชื่อพ้อง Bignonia hymenaea DC., Pachyptera hymenaea (DC.) A. H. Gentry
                       ไม้เถำ มีมือจับแยกเป็น 3 แฉก ใบประกอบมี 2 ใบย่อย ก้ำนยำว 1-2 ซม.
                    ใบย่อยออกตรงข้ำม รูปไข่ ยำว 5-10 ซม. เส้นโคนข้ำงละ 1 เส้น ก้ำนใบยำวได้ถึง
                    1 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนงเป็นกระจุกสั้น ๆ ตำมปลำยกิ่งที่แยกออกจำกเถำ
                    กลีบเลี้ยงคล้ำยรูปถ้วย ยำว 4-6 มม. ปลำยตัดหรือจักตื้น ๆ 5 พู ดอกรูปแตร ยำว
                    3.5-5 ซม. หลอดกลีบดอกเรียวแคบ ปลำยบำนออกแยกเป็น 5 กลีบ รูปไข่กลับกว้ำง
                    ยำวประมำณ 1.5 ซม. เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ปลายกลีบ
                    เป็นติ่งแหลม เกสรเพศผู้ 4 อัน อยู่ภำยในหลอดกลีบดอก ผลแห้งแตก แบน รูปแถบ
                    ขอบมีสัน เมล็ดบำงมี 2 ปีก
                       มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำเขตร้อน จำกเม็กซิโกถึงบรำซิล เป็นไม้ประดับ เป็นซุ้ม
                    หรือท�ำรั้ว ทนแล้ง
                       สกุล Mansoa DC. มีประมาณ 12 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน ชื่อสกุล
                       ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวบราซิล A.L.P. da Silva Mansao (1788-1848) พืช  กระบก: หูใบเรียวยำว หุ้มยอด เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันไดกึ่งร่ำงแหละเอียด (ภำพ: มุกดำหำร - PK)
                       สกุลนี้หลายชนิด ใบเมื่อขยี้มีกลิ่นกระเทียม มีสรรพคุณแก้ไข้ และไข้หวัด
                                                                        กระบกกรัง
                      เอกสารอ้างอิง                                     Hopea helferi (Dyer) Brandis
                       Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Pachyptera hymenaea). In Flora of Thailand
                          Vol. 5(1): 63-64.                             วงศ์ Dipterocarpaceae
                       Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum   ชื่อพ้อง Vatica helferi Dyer
                          Press, Honolulu, Hawai`i.
                                                                           ไม้ต้น สูง 15-40 ม. กิ่งมีช่องอำกำศ มีขนกระจุกรูปดาวสั้น ๆ ตามกิ่งอ่อน
                                                                        หูใบ ก้านใบ และช่อดอก ใบรูปขอบขนำนหรือรูปใบหอก ยำวได้ถึง 20 ซม. แผ่นใบ
                                                                        ด้านล่างมีเกล็ดสีเงิน เส้นแขนงใบข้ำงละ 12-20 เส้น ก้ำนใบยำว 0.7-1.5 ซม.
                                                                        ช่อดอกยำว 5-15 ซม. กลีบเลี้ยงรูปสำมเหลี่ยม ยำว 1-2 มม. ดอกสีเหลืองครีม
                                                                        กลีบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยำว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 15 อัน ก้ำนชูอับเรณูยำวกว่ำ
                                                                        อับเรณูเล็กน้อย แกนปลายอับเรณูปลายมีรยางค์รูปเส้นด้ายยาว 2-3 เท่าของ
                                                                        อับเรณู รังไข่และฐานก้านยอดเกสรเพศเมียรูปกรวยคอดเว้า มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปไข่
                                                                        ยำวประมำณ 8 มม. ปีกยำว 2 ปีก รูปใบพำย ยำว 5-6 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก รูปไข่
                                                                        ยำว 3-5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
                                                                           พบที่หมู่เกำะอันดำมันของอินเดีย พม่ำ กัมพูชำ และคำบสมุทรมลำยู ในไทย
                                                                        พบกระจำยห่ำง ๆ แทบทุกภำค ยกเว้นภำคเหนือ และภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                        ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 400 เมตร

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                      กระเทียมเถา: ช่อดอกออกตำมกิ่งที่แยกออกมำจำกเถำ กลีบดอกรูปแตร ผลรูปแถบ แบน ขอบมีสัน (ภำพ:   Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. In Flora of
                    cultivated - RP)                                          Cambodia, Laos and Vietnam 25: 65.

                                                                                                                      23






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   23                                                                  3/1/16   5:24 PM
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48