Page 42 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 42

กระทุ่ม
                                     สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                                                                      กระทุ่มนา, สกุล
                                                                      Mitragyna Korth.
                                                                      วงศ์ Rubiaceae
                                                                        ไม้ต้น หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเป็นช่อ
                                                                      กระจุกหรือช่อซี่ร่ม ใบประดับคล้ายใบ ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงจักไม่ชัดเจน หรือ
                                                                      แยกเป็น 5 แฉก ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม มี 5 กลีบ เรียงจรดกันในตาดอก เกสรเพศผู้
                                                                      5 อัน ติดใกล้คอหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูติดที่ฐาน ยื่นพ้นปากหลอด
                                                                      กลีบดอก รังไข่ 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตารอบแกนร่วม ยอดเกสรเพศเมีย
                                                                      ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลย่อยแห้งแตกตามยาว เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
                                                                      ปลายมีปีกทั้งสองข้าง

                                                                        สกุล Mitragyna มี 7 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและแอฟริกา ในไทยมี 5 ชนิด
                                                                        ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “mitra” หมวกของพระ และ “gyne” เพศเมีย หมายถึง
                   กระทุงบวบเหลี่ยม: ล�าต้นเปลือกเป็นคอร์ก ช่อดอกออกสั้น ๆ ที่โคนต้น ดอกด้านในสีแดงสด โคนหลอดกลีบสี
                  เหลืองอ่อน ผลรูปแถบ มีสันนูน 6 สัน (ภาพ: ปาย แม่ฮ่องสอน - HB)   ลักษณะของยอดเกสรเพศเมียและรังไข่คล้ายหมวก
                  กระทุ่ม                                             กระทุ่มนา
                  Neolamarckia cadamba (Roxb.) Bosser                 Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil.
                  วงศ์ Rubiaceae                                        ชื่อพ้อง Nauclea diversifolia Wall. ex G.Don
                   ชื่อพ้อง Anthocephalus cadamba (Roxb.) Miq., Nauclea cadamba Roxb.  ไม้ต้น สูง 8-15 ม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. มีสันกลาง ใบรูปไข่หรือ
                    ไม้ต้น สูงได้ถึง 45 ม. กิ่งออกตั้งฉากกับล�าต้น หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว   รูปรี ยาว 5-16 ซม. มีตุ่มใบเป็นขน เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน ก้านใบยาว 1-2.5 ซม.
                  1-2.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 12-25 ซม.   ช่อดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. มีขน ใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย ยาว 2-3 มม.
                  โคนมน กลม หรือเว้าตื้น แผ่นใบด้านล่างมักมีขนละเอียด ก้านใบยาว 2-3.5 ซม.   หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายจักตื้น ๆ หลอดกลีบดอกยาว 3-4 มม.
                  ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม.   กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2.5-3.5 มม. โคนด้านในมีขน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู
                  ก้านช่อยาว 1.5-4 ซม. ดอกรูปดอกเข็มสีครีมอัดกันแน่น ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับ   ยาวประมาณ 2 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านและยอดเกสรเพศเมียยาว 6-7 มม. ช่อผล
                  1-3 คู่ หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. มี 5 กลีบ รูปช้อน ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบ   เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3-1.8 ซม. ผลย่อยรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม.
                  ติดทน หลอดกลีบดอกยาว 5-9 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 2-3 มม.
                  เกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูรูปแถบ ยาวประมาณ 2 มม. ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก  พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา และฟิลิปปินส์
                  เล็กน้อย รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียรวมยอด  ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และทุ่งนา ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
                  เกสรรูปกระบอง ยาว 1.5-2 ซม. ผลกลุ่มเป็นกระจุกกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม.   เอกสารอ้างอิง
                  ผลย่อยแยกกัน ยาวประมาณ 3 มม. เมล็ดรูปสามเหลี่ยม       Chen, T. and C.M. Taylor. (2001). Rubiaceae (Mitragyna). In Flora of China
                    พบที่อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย   Vol. 19: 218-219.
                  ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ขึ้นตามชายป่า ตามหุบเขาหรือริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ
                  1300 เมตร ดอกมีกลิ่นหอม เป็นไม้โตเร็วมาก เนื้อไม้ละเอียด น�้าหนักเบา ใช้ท�าเยื่อ
                  กระดาษ นิยมปลูกเป็นไม้สวนป่า รู้จักกันในชื่อ ตะกูหรือตะกูยักษ์

                    สกุล Neolamarckia Bosser มี 2 ชนิด พบในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
                    ในไทยมีชนิดเดียว ซึ่งเดิมเข้าใจว่าชื่อวิทยาศาสตร์คือ Anthocephalus chinensis
                    (Lam.) A. Rich. ex Walp. ที่ปัจจุบันเป็นชื่อพ้องของ Breonia chinensis (Lam.)
                    Capuron ชื่อชนิดมาจากภาษาบาลี “กทัมพ” และเป็นที่มาของชื่อ กระทุ่ม ชื่อสกุล  กระทุ่มนา: ช่อกระจุกแน่นออกเป็นช่อซี่ร่ม เกสรเพศผู้และเพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: นนทบุรี - MP)
                    น่าจะมาจากเมล็ดคล้ายหญ้าในสกุล Lamarckia          กระเทียมต้น

                   เอกสารอ้างอิง                                      Scorodocarpus borneensis (Baill.) Becc.
                    Chen, T. and C.M. Taylor. (2001). Rubiaceae (Neolamarckia). In Flora of China
                       Vol. 19: 254.                                  วงศ์ Strombosiaceae
                                                                        ชื่อพ้อง Ximenia borneensis Baill.
                                                                        ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผ่นใบ
                                                                      ด้านบนเป็นมันวาว มีปุ่มกระจาย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ
                                                                      ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก ก้านดอกยาว
                                                                      ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก
                                                                      ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวนุ่มคล้ายแปรงด้านใน ปลายพับงอกลับ เกสรเพศผู้
                                                                      จ�านวน 2 เท่าของกลีบดอก ติดเป็นคู่ด้านล่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู
                                                                      รูปแถบ ยาว 3-4 มม. รังไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้
                                                                      ยอดเกสรจัก 3-4 พู ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้ายรูปลูกแพร์ เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                      3-7 ซม. มีริ้วจ�านวนมาก ก้านผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มีเส้นใย
                                                                      หนาแน่น มีเมล็ดเดียว

                                                                        พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น
                                                                      ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน
                   กระทุ่ม: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจ�านวนมาก แยกกัน    มาเลเซียใช้ปรุงอาหารแทนกระเทียม ผลใช้บรรเทาพิษที่เกิดจากยางน่อง Antiaris
                  ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง (ภาพ: ระนอง - RP)           toxicaria Lesch.

                  22






         59-02-089_001-112 Ency_new5-3 i_Coated.indd   22                                                                  3/5/16   4:50 PM
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47