Page 47 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 47

กฤษณา, สกุล                                         กฤษณาน้อย  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กล้วย
                    Aquilaria Lam.                                      Gyrinops vidalii P. H. Hô
                    วงศ์ Thymelaeaceae                                  วงศ์ Thymelaeaceae
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น เปลือกในบางมีเส้นใยเหนียว ใบเรียงเวียน ช่อดอกส่วนมำก  ไม้ต้น สูง 10-15 ม. เปลือกด้านในเป็นเส้นใยสีเงิน ใบรูปขอบขนำน หรือ
                    แบบช่อซี่ร่ม ออกสั้น ๆ ตำมซอกใบหรือปลำยกิ่ง ก้ำนดอกเป็นข้อ กลีบเลี้ยงเชื่อม  รูปใบหอก ยำว 4-7.5 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง ยำว 1-2 ซม เส้นใบจ�านวนมาก
                    ติดกันที่โคน มี 5 กลีบ ติดทน กลีบดอก 10 กลีบ เป็นแผ่นเกล็ดคล้ายรยางค์ แยก  เรียงจรดกันเป็นเส้นขอบใน ก้ำนใบยำวประมำณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    หรือเชื่อมติดกันที่โคนเป็นวงที่ปำกหลอดกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดระหว่ำง  คล้ำยช่อซี่ร่ม 2-3 ดอกในแต่ละช่อ มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนดอกยำวประมำณ 5 มม.
                    กลีบดอก ก้ำนชูอับเรณูสั้นหรือไร้ก้ำน อับเรณูรูปแถบ ติดด้ำนหลัง รังไข่เหนือวงกลีบ   กลีบเลี้ยงสีครีม มีขนสั้นนุ่มประปรำย หลอดกลีบยาวประมาณ 1 ซม. ปลำยแยก
                    มี 2 ช่อง ก้ำนเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก เปลือกหนำ   เป็น 5 กลีบ ยำว 1.5-2 มม. ติดทน กลีบดอก 5 กลีบ ติดที่ปากหลอดกลีบเลี้ยง
                    มี 1-2 เมล็ด ติดบนกระจุกขั้ว                        เป็นรยางค์คล้ายเกล็ด ขนำดประมำณ 0.5 มม. มีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน
                                                                        ติดตรงข้ำมกลีบดอก ไร้ก้ำน อับเรณูรูปใบหอกยำวประมำณ 1.5 มม. รังไข่มี 2 ช่อง
                       สกุล Aquilaria มีประมาณ 15 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 5 ชนิด อีก 3 ชนิด    ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก รูปกระสวย ยำวได้ถึง 3 ซม. ก้ำนผลยำวประมำณ 2 ซม.
                       ได้แก่ จะแน A. hirta Ridl. พบทางภาคใต้ตอนล่าง A. rugosa K. Le-Cong &
                       Kessler พบตามที่สูงทางภาคเหนือ และกำาแย A. subintegra Ding Hou พบทาง  พบที่ลำว และภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทยที่ภูวัว จังหวัดบึงกำฬ
                       ภาคใต้ แทบทุกชนิดเนื้อไม้ทนปลวก มีกลิ่นหอมเมื่อมีเชื้อรา Cystosphaera   ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง ควำมสูง 200-300 เมตร เนื้อไม้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับกฤษณำ
                       mangiferae Died. ทำาให้เกิดสีดำา เรียกว่า กฤษณา นำามาเผาไฟอบห้องให้กลิ่นหอม
                       หรือกลั่นเป็นน้ำามันหอมระเหย ผงกฤษณาใช้ผสมยาสมุนไพร กฤษณาทุกชนิด  สกุล Gyrinops Gaertn. มี 9 ชนิด พบที่่ศรีลังกา อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีนและ
                      รวมถึงกฤษณาน้อย (Gyrinops spp.) อยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES ชื่อสกุลใน  มาเลเซีย ในไทยมีชนิดเดียว ต่างจากสกุล Aquilaria ที่จำานวนเกสรเพศผู้มี 5 อัน
                       ภาษาละตินหมายถึงนกอินทรี เป็นที่มาของชื่อสามัญ eaglewood  ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “gyrinos” ลูกกบ และ “ops” คล้าย ตามลักษณะผล
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                    กฤษณา                                                  Hou, D. (1960). Thymelaeaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 1-15.
                    Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte                    Hô, P.H. (1992). Thymelaeaceae. In Flore du Cambodge du Laos et du
                                                                              Viêtnam 26: 38-81.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตำมกิ่งอ่อน ก้ำนใบ ก้ำนช่อดอก และก้ำนดอก
                    ใบรูปรีหรือรูปไข่กลับ ยำว 6-12 ซม. แผ่นใบมีขนประปรายตามขอบใบและเส้น
                    กลางใบ ก้ำนใบยำว 3-7 มม. ก้ำนช่อดอกยำว 3-5 มม. มี 4-6 ดอกในแต่ละช่อ
                    ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนประปรำย รูปรี ยำว 3-4 มม. ขยายในผล
                    กลีบดอกยาว 1-1.5 มม. มีขนยาวหนาแน่น รังไข่มีขนประปรำย ผลรูปรีเกือบกลม
                    ยำว 2.5-3.5 ซม. มีขนประปรำย เมล็ดรูปรี ยำวประมำณ 1 ซม.
                       พบในภูมิภำคอินโดจีน ในไทยส่วนมำกพบที่เขำใหญ่ จังหวัดปรำจีนบุรีและ
                    นครนำยก และทำงภำคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น ควำมสูง
                    ถึงประมำณ 1000 เมตร

                    กฤษณา                                                 กฤษณาน้อย: ปลำยใบยำวคล้ำยหำง ดอกออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ คล้ำยช่อซี่ร่ม มี 2-3 ดอก หลอดกลีบเลี้ยงเรียวยำว
                    Aquilaria malaccensis Lam.                          ติดทน ผลรูปกระสวย (ภำพ: ภูวัว บึงกำฬ - RP)
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. มีขนสั้นนุ่มตำมกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบด้ำนล่ำง ก้ำนใบ   กล้วย, สกุล
                    ก้ำนช่อดอก และก้ำนดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนำน ยำว 5-15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง  Musa L.
                    ทั้งสองด้าน ก้ำนใบยำว 3-6 มม. ก้ำนช่อดอกยำว 0.4-2 ซม. มี 8-10 ดอก ก้านดอก  วงศ์ Musaceae
                    ยาว 2-5 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนประปรำย หลอดกลีบเลี้ยงยำว 3-5 มม. กลีบรูปรี ยำว
                    2-3 มม. ขยายในผลเพียงเล็กน้อย กลีบดอกเป็นแผ่นคล้ายเกล็ด ยำว 1-1.5 มม.   ไม้ล้มลุกอายุหลายปีหรือออกผลครั้งเดียว (monocarpic) เจริญด้ำนข้ำง
                    มีขนยำว รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี ยำว 2.5-4 ซม. มีขนประปรำย เมล็ดรูปไข่ ยำว  จำกเหง้ำ ล�ำต้นเทียมประกอบด้วยกำบใบ ใบขนำดใหญ่ ก้ำนใบยำว ช่อดอกหรือ
                    ประมำณ 1 ซม. มีขนสีน�้ำตำลแดงปกคลุม จะงอยยำวประมำณ 4 มม. รยำงค์บิดเวียน   ปลีกล้วยออกที่ยอดตั้งขึ้นหรือห้อยลง ใบประดับหลำกสี ช่วงโคนเป็นดอกเพศเมีย
                       พบที่อินเดีย พม่ำตอนใต้ คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ และ  ที่เกสรเพศผู้เป็นหมันหรือดอกสมบูรณ์เพศ ช่วงปลายเป็นดอกเพศผู้ที่เกสรเพศ
                    ภำคใต้ของไทยที่ตรัง ยะลำ และนรำธิวำส ขึ้นตำมป่ำดิบชื้น ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ  เมียเป็นหมัน ดอกส่วนมากเรียง 1-2 แถว กลีบรวมไม่สมมำตร เรียง 2 วง ๆ ละ
                                                                        3 กลีบ วงใน 1 กลีบแยกออก 2 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด แยกจรดโคนด้านเดียว
                      เอกสารอ้างอิง                                     ปลายจักตื้น ๆ 5 จัก เกสรเพศผู้ 5 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 3 ช่อง ออวุลจ�ำนวนมำก
                       Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3): 226-232.  ติดแบบคว�่ำ พลำเซนตำรอบแกน ผลสดมีหลำยเมล็ด เมล็ดแข็ง
                       Wang, Y., L.I. Nevling and M.G. Gilbert. (2007). Thymelaeaceae. In Flora of
                          China Vol. 13: 214.                              สกุล Musa เป็นหนึ่งในสองสกุลของวงศ์ อีกสกุลคือ Ensete ส่วนสกุล Musella
                                                                           ถูกยุบให้อยู่ภายใต้สกุล Ensete สกุล Musa มีประมาณ 30 ชนิด ส่วนมากพบใน
                                                                           เอเชียเขตร้อน ในไทยมีพืชพื้นเมืองประมาณ 10 ชนิด ส่วนกล้วยที่ได้รับการ
                                                                           ปรับปรุงพันธุ์มีมากกว่า 100 สายพันธุ์ ส่วนมากเกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์
                                                                           หรือผสมข้ามระหว่างกล้วยป่า M. acuminata Colla กับกล้วยตานี M. balbisiana
                                                                           Colla กล้วยเหล่านี้ได้แก่ กล้วยน้ำาว้า กล้วยไข่ กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหก กล้วยหอม
                                                                           และกล้วยหักมุก เป็นต้น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “mauz” ซึ่งแปลว่ากล้วยใน
                                                                           ภาษาอาหรับ

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           ราชบัณฑิตยสถาน. (2547). อนุกรมวิธานพืชอักษร ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน,
                                                                              กรุงเทพฯ.
                      กฤษณา: A. crassna กลีบเลี้ยงขยำยในผล (ภำพซ้ำย: cultivated - SSi); กฤษณา: A. malaccensis กลีบเลี้ยง  Wu, D. and W.J. Kress. (2000). Musaceae. In Flora of China Vol. 24: 314-315.
                    ขยำยในผลเพียงเล็กน้อย (ภำพขวำ: ยะลำ - RP)

                                                                                                                      27






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   27                                                                  3/1/16   5:24 PM
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52