Page 52 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 52

กลีบเทียน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                5 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปสำมเหลี่ยมกว้ำง ยำว 2-3 มม. กลีบดอกวงนอกรูปไข่   ก่วม, สกุล
                ยำว 1.5-2 ซม. วงในรูปไข่กลับ โคนเรียวเป็นก้ำนกลีบ สั้นกว่ำกลีบวงนอกเล็กน้อย   Acer L.
                ปลำยจรดกันคล้ำยกระเช้ำ ขอบและเส้นกลางกลีบเป็นสันนูน มีลายเส้นสีม่วงแดง   วงศ์ Sapindaceae
                เกสรเพศผู้ปลำยมีรยำงค์สั้น ๆ ก้ำนช่อผลยำว 1-1.5 ซม. ผลย่อยรูปทรงกระบอก
                ยำว 1-3 ซม. คอดตำมเมล็ด ก้ำนยำวได้ถึง 1 ซม. ผลอ่อนสีขาวนวล สุกสีแดงอมส้ม   ไม้ต้น ไม่มีหูใบ มีเกล็ดหุ้มตำ (winter buds) ใบเดี่ยว เรียบ จักเป็นพู หรือเป็น
                (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มหำพรหม, สกุล)                 ใบประกอบรูปฝ่ำมือ มี 3-5 ใบย่อย เรียงตรงข้าม ช่อดอกมีหลำยแบบ ดอกขนำดเล็ก
                   พบที่พม่ำ คำบสมุทรมลำยู และภำคตะวันตกเฉียงใต้ของไทยที่เพชรบุรี และ  มีทั้งแบบดอกเพศผู้ร่วมต้น หรือแยกต้นกับดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง ควำมสูงถึงประมำณ 700 เมตร  ส่วนมำกมีจ�ำนวนอย่ำงละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 8 อัน มี 2 คาร์เพล
                                                                     เชื่อมติดกัน แต่ละคำร์เพลมีออวุล 1-2 เม็ด ก้ำนเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแบบ
                  เอกสารอ้างอิง                                      ปีกเดียว ส่วนมากติดเป็นคู่ มีเมล็ดเดียว
                   ปิยะ เฉลิมกลิ่น. (2544). พรรณไม้วงศ์กระดังงา. สำานักพิมพ์บ้านและสวน กรุงเทพฯ.
                                                                       สกุล Acer เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Aceraceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Hippocastanoideae
                                                                       ร่วมกับสกุลมะเนียงน้ำา Aesculus มี 126 ชนิด พบทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น
                                                                       ในจีนมีพืชถิ่นเดียวถึง 66 ชนิด ในไทยมี 6 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึง
                                                                       ต้นเมเปิล ซึ่งมาจากภาษากรีกโบราณ Akkadian “arku” หมายถึงมีหางยาว ตาม
                                                                       ลักษณะของปลายใบหลายชนิด

                                                                     ก่วม
                                                                     Acer oblongum Wall. ex DC.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึงประมำณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยำว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ
                                                                     รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้ำงละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้ำงละ 6-7 เส้น
                                                                     เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้ำนใบยำว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น
                                                                     ออกตำมซอกใบใกล้ปลำยกิ่ง ยำวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนดอกยำว 1-2 ซม.
                                                                     กลีบเลี้ยงรูปขอบขนำน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู
                                                                     ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยำวประมำณ
                  กลาย: กลีบดอก 3 กลีบวงในเรียงจรดกันคล้ำยกระเช้ำ โคนเรียวเป็นก้ำนกลีบ ผลย่อยรูปทรงกระบอก สุกสีแดงอมส้ม
                (ภำพ: แก่งกระจำน เพชรบุรี - PK)                      7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยำว 1.5-2.5 ซม. กำงออกกว้ำง
                                                                       พบที่อินเดีย ปำกีสถำน ภูฏำน เนปำล จีนตอนใต้ พม่ำ ลำว และเวียดนำม ใน
                กลีบเทียน                                            ไทยพบกระจำยห่ำง ๆ ยกเว้นภำคตะวันออกเฉียงใต้ และภำคใต้ ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง
                Ranunculus siamensis Tamura                          และป่ำดิบเขำ ควำมสูงถึงประมำณ 1600 เมตร
                วงศ์ Ranunculaceae
                   ไม้ล้มลุก บำงครั้งทอดเลื้อย สูง 30-80 ซม. กิ่งมีขนแข็งสีขาว ใบเรียงเวียน   ก่วมขาว
                ใบที่โคนต้นเป็นใบเดี่ยวหรือมี 3 ใบย่อย ก้ำนใบยำว 6-20 ซม. โคนก้านคล้ายกาบ   Acer laurinum Hassk.
                ใบย่อยรูปไข่กลับ ยำว 3.5-7 ซม. ใบตอนปลายกิ่งแฉกลึก 2-4 แฉก ขอบจักซี่ฟัน  ชื่อพ้อง Acer garrettii Craib
                ไม่เป็นระเบียบ ใบที่ล�าต้นมี 2-4 ใบ ขนาดเล็กกว่าใบที่โคนต้น ไร้ก้าน ช่อดอกแบบ  ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยำว 9-15 ซม. โคนรูปลิ่มกว้ำงหรือ
                ช่อเชิงหลั่น มี 3-7 ดอก ใบประดับรูปแถบหรือมี 3 แฉก ก้ำนดอกยำว 2-10 ซม.   กลม แผ่นใบด้านล่างมีนวลและมีขนสั้น เส้นโคนใบข้ำงละ 1 เส้น โค้งเลยกึ่งกลำง
                มีขนแข็ง ดอกเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 0.7-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยำว 4-5 มม.   แผ่นใบ เส้นแขนงใบข้ำงละ 5-6 เส้น ก้ำนใบยำวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยำว 7-8 มม. เกสรเพศผู้จ�ำนวนมำก   แยกแขนงสั้น ๆ ออกตำมซอกใบ หรือยำวได้ถึง 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนดอก
                ยำวประมำณ 3 มม. คำร์เพลจ�ำนวนมำก แต่ละคำร์เพลมีช่องเดียว ผลย่อยแบบ  ยำว 0.5-1.5 ซม. ขยำยในผลเล็กน้อย กลีบเลี้ยงรูปไข่แคบ ๆ ยำว 2.5-3 มม. ดอก
                ผลแห้งเมล็ดล่อน ติดเป็นช่อกลมเป็นกระจุกแน่น เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1-1.2 ซม.   สีเหลืองอ่อน ๆ กลีบยำวเท่ำ ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ 4-12 อัน ติดบนจำนฐำนดอก
                แบน มีขอบและจะงอย                                    ก้ำนชูอับเรณูยำวประมำณ 5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย ผลรูปรีเป็นเหลี่ยมมน
                   พบที่เนปำล อินเดีย พม่ำ เวียดนำมตอนบน ในไทยพบทำงภำคเหนือที่เชียงใหม่   แบน ๆ ยำวประมำณ 1.5 ซม. ปีกยำว 4-7 ซม.
                ขึ้นตำมที่ชื้นแฉะในป่ำเต็งรังหรือป่ำสน ควำมสูง 850-1500 เมตร  พบที่อินเดีย เนปำล จีนตอนใต้ พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีนและมำเลเซีย ฟิลิปปินส์
                                                                     ในไทยพบทำงภำคเหนือที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่ำน ภำคตะวันออกเฉียงเหนือที่
                   สกุล Ranunculus L. มีประมาณ 650 ชนิด ส่วนมากพบในเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ   เลย และภำคตะวันตกเฉียงใต้ที่กำญจนบุรี ขึ้นตำมป่ำดิบแล้งและป่ำดิบเขำ ควำมสูง
                   ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึงกบขนาดเล็ก หมายถึงถิ่นที่อยู่  500-1500 เมตร
                   ตามที่ชื้นแฉะคล้ายกบ

                  เอกสารอ้างอิง                                      ก่วมเชียงดาว
                   Tamura, M. (2011). Ranunculaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 65-68.  Acer chiangdaoense Santisuk

                                                                       ไม้ต้น ส่วนมำกสูง 5-15 ม. ล�ำต้นมักแคระแกร็น มีขนละเอียดตำมกิ่งอ่อน
                                                                     ใบอ่อน และช่อดอก ใบรูปไข่หรือรูปไข่กว้ำง ยำว 4-11 ซม. ขอบเรียบ แผ่นใบด้านล่าง
                                                                     มีนวล เส้นโคนใบข้ำงละ 1-2 เส้น เส้นแขนงใบข้ำงละ 3-4 เส้น คู่ล่างโค้งถึงประมาณ
                                                                     กึ่งกลางใบ ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่นแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลำยกิ่ง ยำว 3.5-8 ซม.
                                                                     มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนดอกยำว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงยำวประมำณ 2.5 มม. ดอกสีขำว
                                                                     กลีบดอกยำวกว่ำกลีบเลี้ยงเล็กน้อย ช่อผลมักตั้งขึ้น ผลรูปรีเป็นเหลี่ยมมน ยำว
                                                                     0.5-1 ซม. ปีกยำว 1.4-1.8 ซม.
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพำะทำงภำคเหนือที่ดอยเชียงดำว จังหวัดเชียงใหม่
                  กลีบเทียน: ใบแฉกลึก 2-4 แฉก ดอกสีเหลือง ผลย่อยเป็นช่อกระจุกแน่น (ภำพ: แม่สะนำม เชียงใหม่ - PK)  และดอยตุง จังหวัดเชียงรำย ขึ้นตำมเขำหินปูน ควำมสูง 1300-2200 เมตร

                32






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   32                                                                  3/1/16   5:25 PM
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57