Page 53 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 53

ก่วมแดง                                                        สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กวางดูถูก
                    Acer calcaratum Gagnep.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งเกลี้ยง ใบรูปฝ่ามือมี 3 แฉก ด้านกว้างส่วนมาก
                    ยาวกว่าด้านยาว ยำว 6-15 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น ขอบเรียบ เส้นแขนงใบรูปฝ่ำมือ
                    ก้ำนใบยำว 1.5-4.5 ซม. เปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนร่วง ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น
                    ออกสั้น ๆ ตำมปลำยกิ่ง กลีบเลี้ยงสีแดง ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม
                    กลีบดอกสีขาว ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ก้ำนดอกยำว 1.5-2 ซม. ก้ำนชูอับเรณูยำว
                    3-4 มม. ในดอกเพศผู้ อับเรณูสีแดง จานฐานดอกอยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้
                    เกลี้ยง ผลรูปไข่ กว้ำงประมำณ 7 มม. ยำวประมำณ 5 มม. ปีกยำว 3-5 ซม.   ก่วมแดง: ใบรูปฝ่ำมือมี 3 แฉก ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกสั้น ๆ ตำมปลำยกิ่ง จำนฐำนดอกอยู่ด้ำนนอกวงเกสรเพศผู้
                                                                        (ภำพ: ภูหลวง เลย - SSa)
                       พบที่จีนตอนใต้ พม่ำ และเวียดนำม ในไทยพบทำงภำคเหนือที่เชียงใหม่ น่ำน
                    และภำคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตำมป่ำดิบเขำ ควำมสูง 1300-2200 เมตร

                    ก่วมภูคา
                    Acer pseudowilsonii Y. S. Chen
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. กิ่งเกลี้ยง ใบรูปฝ่ามือมี 3 แฉก หรือจักมนที่โคนทั้งสองข้าง
                    ยำว 10-13 ซม. กว้ำง 11.5-14 ซม. เปลี่ยนเป็นสีเหลืองส้มหรือแดงก่อนผลัดใบ
                    ปลำยแหลมยำวคล้ำยหำง เส้นแขนงใบรูปฝ่ำมือ ก้ำนใบยำว 4.5-5.5 ซม. ช่อดอกแบบ
                    ช่อกระจุกแยกแขนงออกตามปลายกิ่ง ห้อยลง ยำว 10-20 ซม. กลีบเลี้ยงยำว
                    ประมำณ 1 มม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบดอกสีขำว ขนำดเท่ำ ๆ กลีบเลี้ยง หรือยำวกว่ำ
                    เล็กน้อย ขอบจัก ก้ำนชูอับเรณูยำวประมำณ 1 มม. อับเรณูสีแดง ผลรูปรี ยำวประมำณ
                    1 ซม. ปีกยำว 3-3.5 ซม. กำงออก ก้ำนผลยำว 1.3-1.8 ซม.
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทำงภำคเหนือที่ดอยภูคำ จังหวัดน่ำน ขึ้นตำมป่ำดิบเขำ
                    ควำมสูง 1000-1400 เมตร เคยระบุว่ำเป็นชนิด A. wilsonii Rehder   ก่วมภูคา: ใบรูปฝ่ำมือมี 3 แฉก ปลำยแหลมยำวคล้ำยหำง ผลมีปีกกำงออก (ภำพ: ดอยภูคำ น่ำน - SSa)
                      เอกสารอ้างอิง                                     กวางดูถูก
                       Chen, Y.S. (2010). A new species of Acer (Aceraceae) from northern Thailand.   Naravelia laurifolia Wall. ex Hook. f. & Thomson
                          Blumea 55(3): 242-245.
                       Santisuk, T. (1998). A systematic study of the genus Acer (Aceraceae) in   วงศ์ Ranunculaceae
                          Thailand. Natural History Bulletin of the Siam Society 46: 93-104.
                       Xu, T., Y. Chen, P.C. de Jong, H.J. Oterdoom and C.S. Chang. (2006).   ไม้เถำ กิ่งมีขนสั้นนุ่ม มีริ้วละเอียด มือจับ 3 อันที่ลดรูปจากใบ ยำว 10-15 ซม.
                          Aceraceae. In Flora of China Vol. 11: 516-549.  ใบประกอบมี 2 ใบย่อย เรียงตรงข้ำม ก้ำนใบยำว 3-8 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่
                                                                        ยำว 7-17 ซม. ปลำยแหลม แผ่นใบค่อนข้างหนา เส้นแขนงใบออกจำกโคนข้ำงละ
                                                                        1-3 เส้น เส้นใบแตกแขนง ก้ำนใบย่อยยำว 0.8-2.8 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                                                                        แยกแขนง มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนช่อยำว 3-10 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยำวประมำณ 3 มม.
                                                                        ใบประดับย่อย 2 ใบ ขนำดเล็ก ก้ำนดอกยำว 1-5.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่
                                                                        ยำว 4-9 มม. ด้ำนนอกมีขนสั้นนุ่ม พับงอกลับ ดอกสีเหลือง มี 10-12 กลีบ รูปกระบอง
                                                                        ยำว 0.8-1.8 ซม. เกสรเพศผู้จ�ำนวนมำก แผ่กว้ำง ยำวได้ถึง 5 มม. อับเรณูกำงออก
                                                                        ช่วงโคน แกนอับเรณูปลำยมีรยำงค์สั้น ๆ คำร์เพลจ�ำนวนมำก แต่ละคำร์เพลมีช่องเดียว
                      ก่วม: มีเกล็ดหุ้มตำ ใบเรียงตรงข้ำม ด้ำนล่ำงมีนวล ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ผลรูปรี นูนชัดเจน ปีก กำงออกกว้ำง   ผลย่อยออกเป็นกระจุก รูปกระสวย ยำวประมำณ 1 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ปลายมีหาง ยาว
                    (ภำพ: ภูหินร่องกล้ำ เพชรบูรณ์ - SSa)                3-4 ซม. มีขนยาวนุ่ม ยาว 3-4 มม.

                                                                           พบที่พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน ภูมิภำคมำเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภำค
                                                                        ขึ้นตำมชำยป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น ที่โล่ง ควำมสูงถึงประมำณ 500 เมตร

                                                                           สกุล Naravelia DC. มี 6 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 4 ชนิด
                                                                           คล้ายกับสกุล Clematis ที่ส่วนมากไม่มีกลีบดอก ชื่อสกุลมาจากภาษาสิงหล
                                                                           “narawael” ที่ใช้เรียก N. zeylanica (L.) DC.
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Tamura, M. (2011). Ranunculaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 61-65.

                      ก่วมขาว: ช่อดอกแบบกระจะแยกแขนงสั้น ๆ ออกตำมซอกใบ มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรีเป็นเหลี่ยมมน แบน ๆ (ภำพ:
                    ภูหลวง เลย - SSa)










                      ก่วมเชียงดาว: ใบรูปไข่หรือรูปไข่กว้ำง ช่อดอกคล้ำยช่อเชิงหลั่นแยกแขนงสั้น ๆ ช่อผลตั้งขึ้น ผลรูปรีเป็นเหลี่ยมมน   กวางดูถูก: ใบประกอบมี 2 ใบย่อย กลีบดอกรูปกระบอง ผลย่อยมีหำงยำว มีขนสั้นนุ่ม (ภำพ: กุยบุรี ประจวบคีรีขันธ์;
                    (ภำพ: ดอยตุง เชียงรำย - RP)                         ภำพดอก - PK, ภำพผล - SSi)

                                                                                                                      33






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   33                                                                  3/1/16   5:26 PM
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58