Page 57 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 57

พบที่พม่ำ เวียดนำม และกัมพูชำ ในไทยพบทำงภำคเหนือที่แม่ฮ่องสอน   ก่อพวง   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ก่อภูวัว
                    เชียงใหม่ ขึ้นตำมป่ำเต็งรังหรือป่ำดิบเขำ ควำมสูง 700-1500 เมตร   Lithocarpus fenestratus (Roxb.) Rehder
                      เอกสารอ้างอิง                                       ชื่อพ้อง Quercus fenestrata Roxb.
                       Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 299-301.  ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. ใบรูปขอบขนำนหรือรูปใบหอก ยำว 12-28 ซม. เส้นแขนงใบ
                                                                        ข้ำงละ 11-17 เส้น ก้ำนใบยำว 1-2.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้แยกแขนง ช่อแขนงยำว
                                                                        6-20 ซม. ช่อดอกเพศเมียยำว 8-20 ซม. ผลรูปกรวย กลมแป้น กว้ำง 1.5-2.8 ซม.
                                                                        สูง 2-3 ซม. รวมกำบ แต่ละกำบส่วนมำกออกเป็นกระจุก 3 ผล กาบหุ้มเกือบทั้งผล
                                                                        เกล็ดรูปสามเหลี่ยม เรียงสลับซ้อนเหลื่อม เชื่อมติดกันที่โคน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                                                                        ก่อด�ำ, สกุล)
                                                                           พบที่อินเดีย เนปำล ภูฏำน จีนตอนใต้ พม่ำ ลำว เวียดนำมตอนบน ในไทยพบ
                                                                        กระจำยทุกภำค ขึ้นตำมป่ำเต็งรัง ป่ำดิบเขำ และป่ำดิบชื้น ส่วนมำกพบที่ควำมสูง
                                                                        900-1300 เมตร แต่อำจพบถึงควำมสูงประมำณ 2350 เมตร

                                                                        ก่อภูวัว
                                                                        Lithocarpus corneus (Lour.) Rehder
                                                                          ชื่อพ้อง Quercus cornea Lour.
                                                                           ไม้ต้น สูงไม่เกิน 10 ม. ใบรูปรีหรือถึงรูปขอบขนำน ยำว 10-19 ซม. ขอบจัก
                      ก่อตาหมูหลวง: ช่อดอกตั้งขึ้น แยกแขนง ผลรูปกรวย โคนเชื่อมติดกันมีบำงกำบแยก กำบหุ้มผลช่วงโคนไม่เกินกึ่งหนึ่ง   ซี่ฟันหรือเรียบ เส้นแขนงใบข้ำงละ 11-21 เส้น ก้ำนใบยำว 0.5-4.5 ซม. ช่อดอก
                    เกล็ดเรียงสลับ (ภำพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - SSi)
                                                                        เพศผู้ยำว 10-15 ซม. ติดที่ปลายช่อที่เป็นผล ช่วงที่เป็นดอกเพศเมียยำว 8-12 ซม.
                    ก่อเต้าปูนนก                                        ผลรูปกลมแป้น กว้าง มีรอยบุ๋ม ผิวเรียบมีไข ผลอ่อนมีขนสีเงินบำง ๆ กาบรูปถ้วย
                    Quercus myrsinifolia Blume                          หรือรูปคล้ายจาน เชื่อมติดกันที่โคน หุ้มผลเกินกึ่งหนึ่ง กว้ำง 3-5 ซม. โคนหนำ
                                                                        เกล็ดรูปสามเหลี่ยมหรือสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดเรียงซ้อนเหลื่อม ขอบและกลาง
                    วงศ์ Fagaceae                                       เกล็ดมีสันคม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล)
                      ชื่อพ้อง Cyclobalanopsis myrsinifolia (Blume) Oerst.  พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน เวียดนำม และภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของ
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปขอบขนำนหรือรูปใบหอก ยำว 6-18 ซม. โค้งเล็กน้อย   ไทยที่ภูวัว จังหวัดบึงกำฬ ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง ควำมสูงประมำณ 200 เมตร
                    โคนเบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยง ก้ำนใบยำว 1-3 ซม. ช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกเพศผู้
                    ออกเป็นกระจุก 2-3 ช่อ หรือเป็นกระจุกแน่น ยำว 5-10 ซม. ช่อดอกเพศเมียตั้งขึ้น   เอกสารอ้างอิง
                    ยาว 1-2 ซม. ดอกเป็นกระจุก 3-5 ดอก ผลรูปโคนกว้ำงเกือบกลม ขนำด 2-2.5 ซม.   Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 289-291.
                    รวมกำบ เกลี้ยงหรือมีขนคล้ำยไหม กาบหุ้มผลมากกว่ากึ่งหนึ่ง เกล็ดเชื่อมติดกัน   Strijk, J.S., S. Rueangruea, S. Sirimongkol, S. Suddee. (2014). Lithocarpus
                                                                              corneus (Fagaceae), a new record for the Flora of Thailand. Thai Forest
                    เรียง 7-9 วง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก่อแดง, สกุล)          Bulletin (Botany) 42: 1-5.
                       พบที่จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น เกำหลี ลำว เวียดนำม ในไทยพบแทบทุกภำค ยกเว้น  Strijk, J.S., S. Sirimongkol, S. Rueangruea, N. Ritphet and V. Chamchumroon.
                                                                              (2014). Lithocarpus orbicarpus (Fagaceae), a new species of Stone Oak
                    ภำคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตำมป่ำดิบชื้น ป่ำดิบแล้ง หรือป่ำเต็งรัง ควำมสูงถึง  from Phang Nga province, Thailand. PhytoKeys 34: 33-45.
                    ประมำณ 900 เมตร ค�ำระบุชนิดบำงครั้งเขียนว่ำ myrsinaefolia
                      เอกสารอ้างอิง
                       Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae. In Flora of China
                          Vol. 4: 398.
                       Phengklai, C. (2008). Fagaceae (Quercus myrsinifolia). In Flora of Thailand Vol.
                          9(3): 385-389.











                      ก่อเต้าปูนนก: ใบโค้งเล็กน้อย โคนเบี้ยว ผลรูปโคนกว้ำง กำบหุ้มผลมำกกว่ำกึ่งหนึ่ง เกล็ดเชื่อมติดกันเรียง 7-9 วง
                    (ภำพ: เขำใหญ่ ปรำจีนบุรี - SSi)                       ก่อปริวรรต: ผลรูปกลม กำบหุ้มตลอดทั้งผล เกล็ดหนำ เรียงไม่เป็นระเบียบเชื่อมติดกัน ยกเว้นปลำยเกล็ด เป็นชั้นห่ำง ๆ
                                                                        (ภำพ: โตนปริวรรต พังงำ - SSi)
                    ก่อปริวรรต
                    Lithocarpus orbicarpus Strijk
                    วงศ์ Fagaceae
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนยาวนุ่มตามกิ่งอ่อนและใบอ่อน ใบรูปขอบขนำน
                    หรือรูปใบหอก เบี้ยวเล็กน้อย ยำว 11-22 ซม. ก้ำนใบยำว 1-2 ซม. ช่อผลออกที่ยอด
                    ยำว 15-21 ซม. มี 9-20 ผล ไม่เชื่อมติดกัน รูปกลม กว้ำงและยำว 2.7-3.5 ซม.
                    รวมกำบ มีขนยำว กาบหุ้มตลอดทั้งผล เกล็ดหนา เรียงไม่เป็นระเบียบเชื่อมติดกัน
                    ยกเว้นปลายเกล็ด เป็นชั้นห่าง ๆ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล)
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทำงภำคใต้ที่น�้ำตกโตนปริวรรต จังหวัดพังงำ ขึ้นตำม  ก่อพวง: ช่อดอกแบบช่อหำงกระรอก บำงครั้งแยกแขนง กำบหุ้มเกือบทั้งผล เกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อมเชื่อมติดกันที่โคน
                    ป่ำดิบชื้น ควำมสูงประมำณ 450 เมตร                   (ภำพ: ภูกระดึง เลย - SSi)

                                                                                                                      37






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   37                                                                  3/1/16   5:27 PM
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62