Page 54 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 54

กอกแดง


                กอกแดง              สารานุกรมพืชในประเทศไทย          รวมกำบหุ้ม เชื่อมติดกันที่โคนหรือแยกกัน กาบหุ้มผลประมาณหนึ่งในสาม โคนหนา
                Dacryodes kingii (Engl.) Kalkman                     เกล็ดเรียงสลับสีน�้าตาลเทาเชื่อมติด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล)
                วงศ์ Burseraceae                                       พบที่กัมพูชำ เวียดนำม และคำบสมุทรมลำยู ในไทยพบกระจำยห่ำง ๆ ทุกภำค
                  ชื่อพ้อง Santiria kingii Engl.                     ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง ป่ำดิบชื้น และป่ำสนเขำ ควำมสูงถึงประมำณ 1300 เมตร
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ กิ่งมีช่องอำกำศ   เอกสารอ้างอิง
                ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน ก้ำนใบยำว 15-20 ซม. โคนโป่งพอง ใบย่อยมี   Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 287-289, 295.
                6-8 คู่ รูปขอบขนำน ยำว 20-60 ซม. โคนกลม เบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น
                ก้ำนใบย่อยยำว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตำมปลำยกิ่ง ยำว
                0.3-1.2 ม. มีขนละเอียด ช่อแขนงยำวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 3 กลีบ
                ขนำดเล็ก ดอกสีแดง มี 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม หนำ รูปไข่ ยำวประมำณ 3 มม.
                ในดอกเพศเมียยำว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก ก้ำนชูอับเรณู
                ยำวประมำณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถ้วย หนา รังไข่ลดรูป
                ในดอกเพศผู้ ไร้ก้ำนเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนำ แห้งผิวย่น
                รูปรีหรือรูปขอบขนำน ยำว 2-2.5 ซม. ปลายผลมีเกสรเพศเมียติดทน มี 3 ไพรีน
                เปลือกบาง ส่วนมากเจริญอันเดียว ก้ำนผลยำว 5-8 มม.
                   พบที่คำบสมุทรมลำยูและภำคใต้ตอนล่ำงของไทยที่นรำธิวำส ขึ้นตำมป่ำดิบชื้น   ก่อขี้ริ้ว: ใบรูปใบหอกกลับ ผลแยกกัน กำบหุ้มผลน้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง (ภำพ: น�้ำตกรำมัน พังงำ - SSi)
                ควำมสูง 100-300 เมตร ต่ำงจำกชนิดอื่น ๆ ที่ใบประกอบและช่อดอกขนำดใหญ่
                และดอกสีแดง

                   สกุล Dacryodes Vahl มีประมาณ 34 ชนิด ในไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา
                   กรีก “dakryodes” การไหลของน้ำายางหรือชันคล้ายหยดน้ำาตา ลักษณะทั่วไป
                   คล้ายกับสกุล Santiria ที่ไพรีนมีเปลือกบางและมีช่องเดียว แต่ผลแห้งไม่ย่นและ
                   เกสรเพศเมียติดทนด้านข้าง ต่างจากสกุล Canarium ที่ผนังไพรีนหนา มี 3 ช่อง
                                                                      ก่อขี้หนู: ผลส่วนมำกเชื่อมติดกันที่โคน กำบหุ้มผลประมำณหนึ่งในสำม เกล็ดเชื่อมติดกัน (ภำพ: ภูเขียว ชัยภูมิ - SSi)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Leenhout, P.W. (1955). Burseraceae. In Flora Malesiana Vol. 5: 224.  ก่องข้าวดอย
                   Pooma, R. (1999). A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest
                      Bulletin (Botany) 27: 59.                      Abutilon sinense Oliv.
                                                                     วงศ์ Malvaceae
                                                                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3.5 ม. มีขนรูปดาวแข็งและขนสั้นนุ่มตามแผ่นใบ ก้านใบ
                                                                     ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล ใบรูปไข่กว้ำงเกือบกลม ยำว 7-13 ซม. ปลำยยำว
                                                                     คล้ำยหำง โคนรูปหัวใจ ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ ก้ำนใบยำว 8-20 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                                                                     ตำมซอกใบ ดอกสีเหลืองมีสีม่วงอมแดงที่โคน รูประฆัง ห้อยลง ก้ำนดอกยำว
                                                                     3-5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยำว 2-3 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยำว 3.5-5 ซม.
                                                                     เส้ำเกสรยำว 2.5-3 ซม. มี 8-10 คำร์เพล ก้ำนเกสรเพศเมียแยกเป็น 8-10 แฉก
                                                                     ยอดเกสรรูปโล่ ผลแบบผลแห้งแยกเป็น 8-10 ซีก รูปรี ยำว 2-3 ซม. ปลำยเป็น
                                                                     ติ่งแหลม แต่ละซีกมี 7-9 เมล็ด เมล็ดมีขนสำก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะก่องข้ำว, สกุล)
                  กอกแดง: ใบประกอบปลำยคี่ เรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงขนำดใหญ่ ออกตำมปลำยกิ่ง ดอกสีแดง มี 3 กลีบ    พบที่จีนตอนใต้ และภำคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดำว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตำม
                (ภำพ: แว้ง นรำธิวำส - RP)                            ที่โล่งเขำหินปูน ควำมสูง 1800-2200 เมตร แยกเป็น var. edentatum Feng
                ก่อขี้ริ้ว                                           พบเฉพำะที่จีนตอนใต้ ใบรูปกลม ขอบเรียบหรือจักมน
                Lithocarpus falconeri (Kurz) Rehder                  ก่องข้าวหลวง
                วงศ์ Fagaceae                                        Abutilon persicum (Burm. f.) Merr.
                  ชื่อพ้อง Quercus falconeri Kurz                     ชื่อพ้อง Sida persica Burm f.
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปขอบขนำนหรือรูปใบหอกกลับ ยำว 12-35 ซม.   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีขนสั้น ขนต่อม และขนรูปดาวตามล�าต้น กิ่ง แผ่นใบ
                เส้นแขนงใบโค้งจรดกัน ก้ำนใบหนำ ยำว 1-1.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยำว 10-30 ซม.   ด้านล่าง ก้านใบ เส้าเกสร และผล ใบรูปไข่กว้ำง ยำว 4-20 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง
                ใบประดับรูปแถบ ยำว 0.5-1 ซม. ช่อดอกเพศเมียสั้นกว่ำ ผลรูปกรวยแยกกัน กว้ำง   โคนรูปหัวใจ ขอบใบจักซี่ฟัน ก้ำนใบยำวได้ถึง 8 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือคล้ำย
                1.5-2 ซม. สูง 2-3 ซม. รวมกำบ ผิวมีนวลเป็นมันวำว กาบรูปถ้วยหุ้มผลน้อยกว่า  ช่อแยกแขนงตำมปลำยกิ่งที่ใบลดรูป ก้ำนดอกยำว 2.5-3 ซม. มีข้อต่อที่จุดกึ่งกลำง
                กึ่งหนึ่ง เกล็ดเรียงสลับรูปสำมเหลี่ยม โคนเชื่อมติดกัน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล)  กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมำณกึ่งหนึ่ง ขยำยในผล กลีบดอกรูปไข่กลับกว้ำง ยำว 3-4 ซม.
                   พบที่พม่ำ คำบสมุทรมลำยู ในไทยส่วนมำกพบทำงภำคใต้ ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง  มีขนกระจำยด้ำนนอก เส้ำเกสรยำวประมำณ 4 มม. ก้ำนเกสรเพศผู้ยำว 2-2.5 ซม.
                และป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 300 เมตร              มี 5-6 คำร์เพล ผลแห้งแยกเป็น 5-6 ซีก รูปครึ่งวงกลม เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1.5-2 ซม.
                                                                     แต่ละซีกมี 4-6 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะก่องข้ำว, สกุล)
                ก่อขี้หนู                                              พบในแอฟริกำ เอเชียเขตร้อน และออสเตรเลีย ในไทยพบทั่วทุกภำค ขึ้นเป็น
                Lithocarpus harmandii (Hickel & A. Camus) A. Camus   วัชพืช ล�ำต้นเป็นเส้นใยใช้ท�ำเชือก น�้ำสกัดจำกใบผสมรำกเทียนกิ่ง Lawsonia
                                                                     inermis L. พริกไทย และข้ำว กินแก้โรคดีซ่ำน
                  ชื่อพ้อง Pasania harmandii Hickel & A. Camus
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนำน หรือแกมรูปไข่กลับ โคนเบี้ยว ยำว   เอกสารอ้างอิง
                11-22 ซม. เส้นใบย่อยไม่ชัดเจน ก้ำนใบยำว 2-3.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยำว 5-17 ซม.   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
                                                                          12: 276.
                ช่อดอกเพศเมียยำวกว่ำเล็กน้อย ผลรูปกรวย ไร้ก้าน กว้ำง 1.2-2 ซม. สูง 2-3 ซม.   van Borssum Waalkes, J. (1966). Malesian Malvaceae revised. Blumea 14: 161.

                34






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   34                                                                  3/1/16   5:26 PM
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59