Page 101 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 101
๘๗
๑) ข้อพิพาทเกี่ยวกับการเผยแพร่ประกาศจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคา
การเผยแพร่ประกาศจัดซื้อจัดจ้างในการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคานั้น
ข้อ ๔๑ (๑) ของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุฯ ก าหนดให้การสอบราคา
ในประเทศ เจ้าหน้าที่พัสดุต้องด าเนินการประกาศเผยแพร่การสอบราคาก่อนวันเปิดซอง
สอบราคาไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน และหากเป็นการสอบราคานานาชาติต้องไม่น้อยกว่า ๔๕ วัน
โดยเจ้าหน้าที่พัสดุต้องส่งประกาศสอบราคาและเอกสารสอบราคาเผยแพร่ไปยังผู้มีอาชีพขาย
หรือรับจ้างท างานนั้นโดยตรง หรือโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ พร้อมกับ
ต้องปิดประกาศเผยแพร่การสอบราคาดังกล่าวไว้โดยเปิดเผย ณ ที่ท าการของส่วนราชการ
้
ที่จัดสอบราคานั้นด้วย ส าหรับการฟองโต้แย้งการด าเนินการสอบราคาในขั้นตอนนี้
ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่าเป็นคดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองฯ ดังกรณีต่อไปนี้
(๑) กรณีฟ้ องว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดด าเนิ นการสอบราคา
โดยไม่แจ้งประกาศสอบราคาให้ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวข้องตามประกาศดังกล่าวทราบ
ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายก าหนดไว้
้
(๑.๑) ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๒๖๗/๒๕๔๗ ผู้ฟองคดีซึ่งเป็นผู้มีอาชีพ
้
้
ผลิตและขายรถยนต์ฟองว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ (ผู้ถูกฟองคดี) ด าเนินการ
ประกาศสอบราคาซื้อรถยนต์ประเภทรถบดล้อยางโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากก าหนด
คุณลักษณะไม่เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหาร
้
ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๓๕ และไม่แจ้งให้ผู้ฟองคดีทราบถึงการสอบราคาดังกล่าว ทั้งที่
้
้
้
ผู้ฟองคดีได้เคยมีจดหมายแนะน าตัวไว้แล้ว จึงน าคดีมาฟองขอให้ศาลมีค าสั่งว่าผู้ถูกฟองคดีละเว้น
หรือหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามที่ระเบียบของทางราชการก าหนดไว้ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นบรรทัดฐาน
้
และเป็นตัวอย่างของการปฏิบัติราชการต่อไป ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า การที่ผู้ฟองคดี
้
้
ฟองว่าผู้ถูกฟองคดีประกาศสอบราคาซื้อรถยนต์ประเภทรถบดล้อยางโดยไม่เป็นไปตามระเบียบ
้
กระทรวงมหาดไทยฉบับดังกล่าว และไม่แจ้งให้ผู้ฟองคดีซึ่งเป็นผู้ผลิตและขายรถยนต์ทราบ
เป็นการกระท าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นคดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)
แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ (ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๗๘๓/๒๕๔๙
ที่ ๔๔๐/๒๕๕๐ ที่ ๒๙๑/๒๕๕๑ ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๕/๒๕๕๓ และ
ที่ อ.๔๗๑/๒๕๕๓ วินิจฉัยแนวทางเดียวกัน)