Page 140 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 140

๑๒๖





                             ๒.๒ ข้อพิพาทในขั้นตอนการลงนามในสัญญา

                                  ข้อพิพาทในขั้นตอนนี้ มีตัวอย่างค าวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดเฉพาะกรณี

                       ที่เกี่ยวกับการละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานทางปกครองในการจัดซื้อจัดจ้าง
                       โดยวิธีประกวดราคาเท่านั้น ได้แก่


                                  - กรณีฟ้ องขอให้หน่วยงานทางปกครองลงนามในสัญญาจ้างกับผู้ฟ้ องคดี
                       ซึ่งเป็นผู้ชนะการประกวดราคา เนื่องจากหน่วยงานทางปกครองขอขยายระยะเวลา

                       การยืนราคาออกไปหลายครั้งโดยไม่ยอมลงนามในสัญญาจ้างตามประกาศประกวดราคา


                                                                                   ้
                                   : ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๒๙๒/๒๕๔๗ กรณีที่ผู้ฟองคดีซึ่งชนะการประกวด
                                                                                  ้
                                                                   ้
                      ราคาจ้างก าจัดมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร (ผู้ถูกฟองคดี) แต่ผู้ถูกฟองคดีไม่จัดให้มีการลงนาม
                                                                                      ้
                      ในสัญญา โดยมีหนังสือขอขยายระยะเวลาการยืนราคาหลายครั้ง ซึ่งผู้ฟองคดีได้ขยายเวลาให้
                                                                       ้
                                                                                                    ้
                      ทุกครั้งรวมเป็นเวลายืนราคาทั้งหมด ๒๔๐ วัน โดยผู้ฟองคดีได้มีหนังสือเร่งรัดให้ผู้ถูกฟองคดี
                                                             ้
                      จัดให้มีการลงนามในสัญญาแล้ว แต่ผู้ถูกฟองคดีไม่ด าเนินการ  นอกจากนั้น ในเวลาต่อมา
                                                                       ้
                            ้
                      ผู้ถูกฟองคดียังได้แจ้งยกเลิกการประกวดราคาดังกล่าว ผู้ฟองคดีเห็นว่าการยกเลิกการประกวดราคา
                                                                          ้
                      เป็นการใช้ดุลพินิจโดยปราศจากเหตุผลอันสมควรท าให้ผู้ฟองคดีได้รับความเสียหาย จึงน าคดี
                                                                    ้
                          ้
                      มาฟองขอให้ศาลมีค าพิพากษาหรือค าสั่งให้ผู้ถูกฟองคดีทบทวนโครงการและลงนามว่าจ้าง
                                                                                      ้
                         ้
                      ผู้ฟองคดี หากไม่อาจทบทวนโครงการได้ให้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ฟองคดี  ศาลปกครอง
                                                  ้
                      สูงสุดวินิจฉัยว่า กรณีที่ผู้ถูกฟองคดีไม่จัดให้มีการลงนามในสัญญาจ้าง เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ
                      การที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนดให้

                      ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควรตามมาตรา ๙   วรรคหนึ่ง (๒)
                      แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ ซึ่งศาลปกครองมีอ านาจก าหนดค าบังคับโดยสั่งให้

                      หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหน้าที่ภายในเวลาที่
                                                              ๑๒๕
                      ศาลก าหนดตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๒)  แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ส าหรับกรณีที่

                              ๑๒๕
                                 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
                                   มาตรา ๗๒ ในการพิพากษาคดี ศาลปกครองมีอ านาจก าหนดค าบังคับอย่างหนึ่งอย่างใด
                       ดังต่อไปนี้
                                                    ฯลฯ                  ฯลฯ
                                   (๒) สั่งให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหน้าที่
                                                                 ้
                       ภายในเวลาที่ศาลปกครองก าหนด ในกรณีที่มีการฟองว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
                       ละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร
                                                    ฯลฯ                  ฯลฯ
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145