Page 150 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 150
๑๓๖
้
้
เป็นกรณีฟองขอให้ศาลปกครองมีค าพิพากษาหรือมีค าสั่งให้ผู้ถูกฟองคดีที่ ๔ ซึ่งมีฐานะเป็น
หน่วยงานของรัฐตามนัยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙ รับผิดในผลแห่งละเมิดอันเกิดจากการที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระท าในการปฏิบัติ
หน้าที่ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน และโดยที่การออกประกาศแขวงการทาง
้
แม่ฮ่องสอน เรื่อง ยกเลิกประกาศสอบราคาซื้อพัสดุ ที่เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ฟองคดี
เป็นการใช้อ านาจทางปกครองตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ในสังกัดของกรมทางหลวง อีกทั้ง
ยังเป็นค าสั่งทางปกครองตามบทนิยาม “ค าสั่งทางปกครอง” ในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกอบกับข้อ ๑ (๓) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
คดีนี้จึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระท าละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการใช้อ านาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ ค าสั่ง
ทางปกครอง หรือค าสั่งอื่น หรือจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนดให้ต้องปฏิบัติ
หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร ซึ่งอยู่ในอ านาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ
๒) ข้อพิพาทเกี่ยวกับการยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคา
้
้
(๑) ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๔๙/๒๕๔๘ กรณีที่ผู้ฟองคดียื่นฟองคดี
้
เรียกค่าเสียหายจากการที่ธนาคารออมสิน (ผู้ถูกฟองคดี) ยกเลิกการประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
้
ส านักงานธนาคารออมสินภาค ๖ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเหตุให้ผู้ฟองคดีซึ่งเป็นผู้เสนอราคาต ่าสุด
ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า คดีนี้เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับ
การกระท าละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการออกค าสั่ง
ทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ แต่โดยที่
การสั่งยกเลิกการประกวดราคาถือเป็นการสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาค าเสนอ
๑๓๑
หรือการด าเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน ซึ่งเป็นค าสั่งทางปกครองตามมาตรา ๕
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกอบกับข้อ ๑ (๓)
ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
๑๓๒
้
้
ทางปกครองฯ ผู้ฟองคดีจึงต้องอุทธรณ์ค าสั่งดังกล่าวต่อผู้ถูกฟองคดีตามมาตรา ๔๔
้
แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวก่อนน าคดีมาฟองต่อศาลปกครอง
๑๓๑
อ้างแล้ว ในเชิงอรรถที่ ๘๓ หน้า ๗๘
๑๓๒
อ้างแล้ว ในเชิงอรรถที่ ๑๑๑-๑๑๒ หน้า ๑๑๖