Page 154 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 154
๑๔๐
้
้
้
และหน้าที่ของผู้ฟองคดี เมื่อผู้ฟองคดีกล่าวอ้างว่าผู้ถูกฟองคดีไม่มีอ านาจยึดหลักประกันซอง
้
้
้
ของผู้ฟองคดี การที่ผู้ถูกฟองคดียึดหลักประกันซองของผู้ฟองคดีโดยด าเนินการตามข้อก าหนด
ของเอกสารประกวดราคาที่ก าหนดว่าผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าเสนอราคาต้องเข้าร่วม
้
้
เสนอราคา มิฉะนั้น ผู้ถูกฟองคดีจะริบหลักประกันซอง จึงเป็นกรณีที่ผู้ฟองคดีโต้แย้งว่าค าสั่ง
้
ของผู้ถูกฟองคดีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับการกระท าละเมิดของหน่วยงาน
ทางปกครองอันเกิดจากค าสั่งทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติ
้
้
ดังกล่าว มิใช่คดีพิพาทเกี่ยวกับการโต้แย้งสิทธิหน้าที่กันระหว่างผู้ฟองคดีกับผู้ถูกฟองคดี
ตามสัญญาทางแพ่งดังที่ศาลปกครองชั้นต้นวินิจฉัย
หมายเหตุ อย่างไรก็ตาม ตามค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๗๙/๒๕๕๖
ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๐๔/๒๕๕๑ ที่ ๖๕๘/๒๕๕๑ ที่ ๖๖๐/๒๕๕๑ และที่ ๙๕/๒๕๕๒
้
ได้วินิจฉัยกรณีฟองโต้แย้งการยึดหลักประกันซองของหน่วยงานทางปกครองในการจัดซื้อจัดจ้าง
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ สรุปได้ว่า กรณีเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตาม
มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ อันเป็นการวินิจฉัยที่แตกต่าง
ไปจากแนวทางตามค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๒๓๗/๒๕๕๐ ข้างต้น โดยรายละเอียดของ
ค าวินิจฉัยที่แตกต่างไปดังกล่าว จะได้น าเสนอต่อไปในหัวข้อ ๔. คดีพิพาทตามมาตรา ๙
วรรคหนึ่ง (๔)
๔. คดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔)
จากการศึกษาค าวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดพบว่า กรณีที่ศาลวินิจฉัยว่าเป็น
คดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) นั้น เป็นข้อพิพาทที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการด าเนินการอื่น
ของการจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่ ข้อพิพาทเกี่ยวกับการยึดหรือริบหลักประกันซองของผู้มีสิทธิ
เสนอราคา ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ ๑) กรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอราคาไม่เข้าเสนอราคา
หรือเสนอราคาไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
และ ๒) กรณีที่ผู้ชนะการเสนอราคาไม่เข้าท าสัญญากับหน่วยงานทางปกครองผู้จัดให้มีการ
้
เสนอราคา และข้อพิพาทเกี่ยวกับการฟองเรียกค่าเสียหายจากการที่ผู้ชนะการเสนอราคา
ไม่เข้าท าสัญญากับหน่วยงานทางปกครองผู้จัดให้มีการเสนอราคา ดังรายละเอียดต่อไปนี้