Page 209 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 209

๑๙๕



                                            ้
                       ค าสั่งดังกล่าวแล้ว ผู้ถูกฟองคดีที่ ๒ ได้มีประกาศยกเลิกประกาศประกวดราคาข้างต้น และจัดให้
                       มีการประกวดราคาเพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์ครั้งใหม่ ประกาศยกเลิกดังกล่าวจึงมีผลให้การกระท า
                                                                     ้
                                          ้
                                                                                        ้
                       อันเป็นเหตุแห่งการฟองคดีได้สิ้นสุดลงไปก่อนที่ผู้ฟองคดีจะน าคดีนี้มาฟองต่อศาลปกครอง
                                                              ้
                       ศาลจึงไม่อาจออกค าบังคับตามค าขอให้แก่ผู้ฟองคดีได้อีก

                       ๓. เงื่อนไขเกี่ยวกับการด าเนินการตามขั้นตอนหรือวิธีการส าหรับแก้ไขความเดือดร้อน
                       หรือเสียหายก่อนการฟ้ องคดี


                                        ้
                                                                             ้
                              โดยที่การฟองคดีต่อศาลปกครองนอกจากผู้มีสิทธิฟองคดีจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับความ
                       เดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระท าหรืองดเว้นการกระท า
                       ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งการแก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อน

                       หรือเสียหายนั้นต้องมีค าบังคับตามที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ
                                                              ้
                       แล้ว มาตรา ๔๒ วรรคสอง ยังบัญญัติให้การฟองคดีปกครองจะกระท าได้ต่อเมื่อมีการด าเนินการ
                       ตามขั้นตอนและวิธีการส าหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายตามที่มีกฎหมายก าหนดไว้
                       เสียก่อน ส าหรับคดีพิพาทเกี่ยวกับการพัสดุนั้น โดยที่ระเบียบว่าด้วยการพัสดุที่ใช้บังคับกับ

                       หน่วยงานทางปกครองต่างๆ เช่น ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
                       ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

                       พ.ศ. ๒๕๓๕ และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนต าบล
                       พ.ศ. ๒๕๓๘ ต่างไม่ได้ก าหนดขั้นตอนหรือวิธีการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายไว้โดยเฉพาะ
                                                                                         ้
                       ดังนั้น จึงต้องด าเนินการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายก่อนน าคดีมาฟองต่อศาลปกครอง
                                                                                                     ้
                       ด้วยการยื่นอุทธรณ์ค าสั่งทางปกครองซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนหรือเสียหายแก่ผู้ฟองคดี
                       ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙  ทั้งนี้ ยกเว้น
                       กรณีพิพาทที่เกี่ยวกับระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

                       พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งมีข้อก าหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเสนอราคาแต่ไม่ผ่านการพิจารณาเบื้องต้น
                       ให้เป็นผู้มีสิทธิเสนอราคา และผู้มีสิทธิเสนอราคาที่ไม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของหัวหน้า

                       หน่วยงาน สามารถยื่นอุทธรณ์โต้แย้งผลการพิจารณาดังกล่าวได้ อันเป็นกรณีที่มีกฎหมาย
                       ก าหนดขั้นตอนหรือวิธีการส าหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายไว้โดยเฉพาะแล้ว ซึ่งมี

                       ตัวอย่างค าวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดเกี่ยวกับการด าเนินการเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนหรือ
                                           ้
                       เสียหายก่อนน าคดีมาฟองต่อศาลปกครอง โดยเป็นคดีที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการจัดซื้อ

                       หรือจัดจ้าง ดังนี้
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214